เหรียญหลวงพ่อโม วัดสามจีน หรือ วัดไตรมิตรวิทยาราม ปี 2489  

TRAVEL TOOLS

 

id7500003000070


 


 

เหรียญหลวงพ่อโม วัดสามจีน หรือ วัดไตรมิตรวิทยาราม ปี 2489 เหรียญหลวงพ่อโม วัดสามจีน หรือ วัดไตรมิตรวิทยาราม ปี 2489 หลวงพ่ออุ้น วัดตาลกง เพชรบุรี ปี 2489 หลวงพ่ออุ้น วัดตาลกง เพชรบุรี ปี 2489 หลวงพ่ออุ้น วัดตาลกง เพชรบุรี ปี 2489

             

Rian Luang Por Mo、Wat Sam Chin 或 Wat Traimit Wittayaram, year 2460

Name of the image of Buddha: Rian Luang Por Mo
Supporter of casting: Luang Por Mo
Location of Casting or Finding: Wat Tal Kong, Phetchaburi
Year of Casting:: B.E 2460
Praise of the image of Buddha: Harmproof and invulnerability

Product : 000719

Price :1,000,000.00 baht

 

Luang Por Mo、Wat Sam Chin 或 Wat Traimit Wittayaram 的歷史和聖物 曼谷著名的 Phra Buddha Chinnarat 的所有者 Luang Por Mo,Sam Chin 寺或 Phrakhru Wiriyakitjakaree (Mo Thammasaro),Samphanthawong 區 Talat Noi 分區 Traimit Wittayaram Woramahawihan 寺前住持。 曼谷 他是曼谷另一位非常有名的和尚。 他的背景是Talad Noi 的一名村民。 曼谷Samphanthawong區,原名Mo Sae Chua,出生於1863年5月星期四,父親為Lim Sae Chua先生,母親為Kim Hiang Sae Chua女士。 你是一個比其他孩子更聰明的孩子。 當他還小的時候,他的父母帶他去Wat Traimit Wittayaram

 學習。 直到能夠讀寫中文和泰文 他也喜歡學習和獲取魔法領域的知識。 1883年,Luang Por Mo年滿20歲,在Samphanthawong區Talat Noi分區的Phatthasima,Wat Traimit Witthayaram出家為僧。 曼谷 獲得綽號“Dhammasaro” 帕庫塔旺薩曼旺 (變更)Wat Sam Chin 住持 做一位導師 Phra Achan Singh,Wat Hua Lamphong,是一位僧侶。 帕阿佔耶姆 這是 Nachan 的紀念碑。 受戒後 他在 Sam Chin 寺度過了佛教大齋期。 (Wat Traimit)繼續研究Pariyatdhamma 主題。 以及法與律 與 Phra Achan Plian 一起 直到完成許多科目 1895年,Sam Chin寺第三任住持Phrakru Thaworn Samanwong(Plian)移任Muang Phitsanulok Wat Phra Si Rattana Mahathat(Wat Yai)住持,又一年後,即B.E. 1896 年,他被皇家晉升為Phra Prakram Muni 的牧師。 並被授予彭世洛府方丈稱號 1895年,Phrakhru Wiriyanukitjaree (Klom) 被任命為 Wat Sam Chin 的第四任住持,以填補空缺。 1911年,Phra Athikan Klom圓寂,村民和僧侶共同任命Luang Por Mo。 成為 Wat Sueb 的住持 同年,根據皇家公報,第 29 卷,第 2411 頁,日期為 131 年 1 月 22 日(對應於 1912 年),Luang Por Mo 被任命,這意味著 Phra Athikan Mo(Wat Sam Chin Tai)是 Phrakhru Phrakhru Wiriyakarnri 內觀部的Sanyapat 拿著紅緞背景的棕櫚扇 開關係統 臥佛寺(Wat Traimit Wittayaram Worawihan) 位於Samphanthawong 區Talat Noi 分區Trimit 路。 這是一座位於低地的古老寺廟,寺院是一座木屋。 它的原名是“Wat Sam Chin”,相傳是三個中國人共同建造的寺廟,作為建功德的寺廟。 1934年,代住持Phra Mahakim Suwannachat主動對寺廟進行改善,並於1937年得到僧伽最高理事會的批准,改善寺廟的狀況。 1939年,人民商人 老師和學生 他們共同整修並更名為“Wat Traimit Wittayaram”,意思是三個朋友共同建造了這座寺廟。 此外,該寺廟也是寺廟區內政府 Pariyatham 學校和 Traimit Wittayalai 學校的所在地。 寺廟內有Phra Buddha Tosaphayan。 是寺內的主佛像。 這是一尊馬拉威猜姿勢的佛像,以灰泥製成,塗漆鍍金。一般人稱為Luang Pho To,也有人稱為「Luang Pho To」。 龍婆寺三欽寺 總有人前來許願。 與茉莉花環 他的朱拉隆功國王前來參拜。 並稱讚他說 這是一尊具有極其美麗特徵的佛像。 還有Phra Sukhothai Traimit。 它是最大的馬拉威猜姿勢金佛像,已被列入金氏世界紀錄。 這尊金佛像面寬3.01米,高3.91米,從底座向上可拆卸九尊佛像,材質為40%純金,面部為80%金,頭髮重45公斤。它是 99.99% 的純金。 推測它建於素可泰時期。 它最初供奉在瑪哈泰寺。 素可泰府 後來在佛陀尤法朱拉洛克大帝統治時期。 慷慨地 前往 Krom Phra Rajawang Bowon Maha Surasinghanat 準備從北方城市運來佛像,供奉在重要的寺廟裡。 由於當時土地規劃尚未確定。 與緬甸經常發生戰爭。 結果,各個寺廟都遭到了極大的破壞。 因此,大量位於各城市的佛像被帶入京城。 由於戰爭的危險 過去,貴族和村民偷偷地用水泥覆蓋金佛像,然後把它們帶到他們建造的寺廟。 直到它被帶到 Wat Phraya Krai。 (Chotikaram Temple)後來成為一座廢棄的寺廟。東亞 Tik 公司 於是他請求在寺廟租地蓋鋸木廠。 因此它被帶到了 Wat Traimit。 供奉於寶塔旁 透過種植一個帶有茅草屋頂的粗糙鋅棚。 近20年後,當新的禮拜堂和寺廟竣工時,它們被供奉起來。 但在拆除佛像上的水泥時,佛像出現了裂縫。 結果發現,裡面的佛像是1955年5月25日用金子打造的,這一天對應的是拉瑪九世國王的統治時期。 繼莫父之後 成為寺廟的住持 他盡其所能地發展這座寺廟。 包括建立各種設施 並創造各種永久物體 在聖殿裡盡你最大的能力繁榮昌盛 Luang Phor Mo 被認為是神聖的。 擁有強大而神奇的咒語 該地區的泰國人和中國人的村民 他們受到高度尊重。 他的聖物至今聞名。 有蓋印的硬幣。 並鑄造硬幣

เหรียญหลวงพ่อโม วัดสามจีน หรือ วัดไตรมิตรวิทยาราม ปี 2489

รหัสสินค้า: 000719

ราคา:1,000,000.00 บาท

 

รายละเอียด:เหรียญหลวงพ่อโม วัดสามจีน หรือ วัดไตรมิตรวิทยาราม ปี 2460

ประวัติและวัตถุมงคลหลวงพ่อโม วัดสามจีน หรือ วัดไตรมิตรวิทยาราม เจ้าของพระพุทธชินราชอันโด่งดัง ของกรุงเทพฯ  หลวงพ่อโม วัดสามจีน หรือ พระครูวิริยกิจจการี (โม ธัมมสโร) อดีตเจ้าอาวาสวัดไตรมิตรวิทยารามวรมหาวิหาร แขวงตลาดน้อย เขตสัมพันธวงศ์ กรุงเทพมหานคร ท่านเป็นพระเกจิที่มีชื่อเสียงมากอีกรูปหนึ่งของพระนคร พื้นเพท่านเป็นชาวบ้านตลาดน้อย เขตสัมพันธวงศ์ กรุงเพทฯ ท่านมีนามเดิมว่า โม แซ่ฉั่ว เกิดเมื่อวันพฤหัสบดี เดือน ๕ พ.ศ. ๒๔๐๖ โยมบิดาชื่อนายลิ้ม แซ่ฉั่ว โยมมารดาชื่อนางกิมเฮียง แซ่ฉั่ว   ท่านเป็นเด็กที่มีความเฉลียวฉลาดกว่าเด็กทั่วไป เมื่อยังเล็กโยมบิดาและโยมมารดาจึงนำท่านไปฝากเรียนในสำนักวัดไตรมิตรวิทยาราม จนสามารถอ่านออกเขียนได้ทั้งภาษาจีนและภาษาไทย นอกจากนี้ท่านยังชอบศึกษาหาความรู้ในด้านวิชาอาคมขลังอีกด้วย  ปี พ.ศ. ๒๔๒๖ หลวงพ่อโม ท่านมีอายุครบ ๒๐ ปีบริบูรณ์ ท่านจึงเข้ารับการอุปสมบทเป็นพระภิกษุ ณ พัทธสีมาวัดไตรมิตรวิทยาราม แขวงตลาดน้อย เขตสัมพันธวงศ์ กรุงเทพมหานคร ได้รับฉายาว่า "ธัมมสโร" โดยมี  พระครูถาวรสมณวงศ์ (เปลี่ยน) เจ้าอาวาสวัดสามจีน เป็นพระอุปัชฌาย์  พระอาจารย์สิงห์ วัดหัวลำโพง เป็นพระกรรมวาจาจารย์  พระอาจารย์แย้ม เป็นพระอนุสาวนาจารย์  หลังกจากที่อุปสมบทแล้ว ท่านได้อยู่จำพรรษาที่วัดสามจีน (วัดไตรมิตรฯ) เรื่อยมาเพื่อศึกษาวิชาปริยัติธรรม และพระธรรมวินัย กับพระอาจารย์เปลี่ยน จนสำเร็จวิชาหลายอย่าง  ปี พ.ศ. ๒๔๓๘ พระครูถาวรสมณวงศ์ (เปลี่ยน) ซึ่งเป็นเจ้าอาวาสรูปที่ ๓ ของวัดสามจีน ได้ย้ายไปปกครองเป็นเจ้าอาวาสวัดพระศรีรัตนมหาธาตุ (วัดใหญ่) เมืองพิษณุโลก และถัดมาอีก ๑ ปี คือในปี พ.ศ. ๒๔๓๙ ท่านก็ได้รับพระราชทานเลื่อนสมณศักดิ์เป็นพระราชาคณะ ที่ พระปรากรมมุนี และได้รับพระราชทานเป็นเจ้าคณะมณฑลพิษณุโลก  ปี พ.ศ. ๒๔๓๘ พระครูวิริยานุกิจจารี (กล่อม) จึงได้รับการแต่งตั้งให้เป็นเจ้าอาวาสวัดสามจีน อันดับที่ ๔ ทดแทนตำแหน่งที่ว่างลง   ปี พ.ศ. ๒๔๕๔ พระอธิการกล่อม ได้มรณภาพลง ชาวบ้านและคณะสงฆ์จึงพร้อมใจกันแต่งตั้งให้หลวงพ่อโม ขึ้นเป็นเจ้าอาวาสวัดสืบแทน  และในปีเดียวกันนั้นเอง หลวงพ่อโม ท่านได้รับการแต่งตั้งตามราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ ๒๙ หน้า ๒๔๑๑ วันที่ ๒๒ มกราคม ๑๓๑ (ตรงกับ พ.ศ. ๒๔๕๕) ความว่า ให้พระอธิการโม วัดสามจีนใต้ เป็นพระครูสัญญาบัตรฝ่ายวิปัสสนาที่  พระครูวิริยกิจการี ถือพัดพุดตาลพื้นแพรแดง สลับเยียรระบับ  วัดไตรมิตรวิทยารามวรวิหาร ตั้งอยู่ที่ถนนตรีมิตร แขวงตลาดน้อย เขตสัมพันธวงศ์ เป็นวัดโบราณอยู่ในที่ลุ่มพระอารามเป็นเรือนไม้ มีชื่อเดิมว่า "วัดสามจีน" เข้าใจกันว่า ชาวจีน ๓ คนร่วมกันสร้างพระอารามเพื่อเป็นวิหารทานการบุญ  ในปี พ.ศ. ๒๔๗๗ พระมหากิ๊ม สุวรรณชาต ผู้รักษาการในหน้าที่เจ้าอาวาสเป็นผู้ริเริ่มปรับปรุงวัด ต่อมาในปี พ.ศ. ๒๔๘๐ ได้รับอนุมัติจากมหาเถรสมาคมให้ปรับปรุงสภาพวัดให้ดีขึ้น   ปี พ.ศ. ๒๔๘๒ พ่อค้าประชาชน คณะครูและนักเรียน ได้ร่วมกันปฏิสังขรณ์และเปลี่ยนนามใหม่ เป็นชื่อ "วัดไตรมิตรวิทยาราม" ซึ่งมีความหมายว่า เพื่อน ๓ คนร่วมกันสร้างวัดนี้ ประกอบกับวัดเป็นที่ตั้งโรงเรียนปริยัติธรรมและโรงเรียนไตรมิตรวิทยาลัยของรัฐบาลอยู่ภายในบริเวณวัด  

ภายในวัดมีพระพุทธทศพลญาณ เป็นพระประธานในพระอุโบสถ เป็นพระพุทธรูปปางมารวิชัย ปูนปั้น ลงรักปิดทอง ประชาชนทั่วไปเรียกว่า หลวงพ่อโต บ้างก็เรียกว่า หลวงพ่อวัดสามจีน มีประชาชนมาบนบานกันเสมอๆ ด้วยพวงมาลัยดอกมะลิ  พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้เคยทรงเสด็จพระราชดำเนินมานมัสการ และได้ตรัสยกย่องว่า เป็นพระพุทธรูปที่มีพระพุทธลักษณะงดงามยิ่งนัก   นอกจากนี้ยังมีพระสุโขทัยไตรมิตร ซึ่งเป็นพระพุทธรูปปางมารวิชัยเนื้อทองคำที่ใหญ่ที่สุดและได้รับการบันทึกในหนังสือบันทึกสถิติโลกกินเนสส์ พระพุทธรูปทองคำองค์นี้มีหน้าตั้งกว้าง ๓.๐๑ เมตร สูง ๓.๙๑ เมตร องค์พระสามารถถอดได้ ๙ องค์ จากฐานองค์พระขึ้นไปเนื้อทองบริสุทธิ์ ๔๐% พระพักตร์มีเนื้อทอง ๘๐% ส่วนพระเกศมีน้ำหนัก ๔๕ กิโลกรัม เป็นเนื้อทองบริสุทธิ์ ๙๙.๙๙%  สันนิษฐานว่าสร้างในสมัยสุโขทัย เดิมประดิษฐานอยู่ที่วัดมหาธาตุ จังหวัดสุโขทัย ต่อมาในสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ได้โปรดเกล้าฯ ให้กรมพระราชวังบวรมหาสุรสิงหนาท ไปอัญเชิญพระพุทธรูปมาจากเมืองเหนือเพื่อนำมาประดิษฐานยังวัดสำคัญ  เนื่องด้วยช่วงนั้นแผนดินยังไม่สงบ มักมีสงครามรบพุ่งกับพม่า จึงทำให้วัดวาอารามต่างๆได้รับความเสียหายเป็นอย่างมาก จึงทำการอัญเชิญพระพุทธรูปที่อยู่ตามหัวเมืองต่างๆเข้ามาในพระนครเป็นจำนวนมาก  ซึ่งจากภัยสงครามนี้เอง ทำให้ในสมัยก่อนนั้นขุนนางและชาวบ้านจึงแอบเอาปูนไล้พระพุทธรูปทองคำแล้วนำมาไว้ยังวัดที่ตนสร้าง  จนได้อัญเชิญมาไว้ที่วัดพระยาไกร (วัดโชติการาม) ต่อมาเป็นวัดร้าง บริษัท อี๊สต์เอเชียติ๊ก จึงได้ขอเช่าที่วัดสร้างเป็นโรงเลื่อยจักร จึงได้อัญเชิญมาไว้ที่วัดไตรมิตรฯ ประดิษฐานอยู่ข้างพระเจดีย์ โดยปลูกเพิงสังกะสีมุงเป็นหลังคากั้นไว้อย่างหยาบๆ   หลังจากนั้นเป็นเวลาเกือบ ๒๐ ปี เมื่อพระอุโบสถและพระวิหารหลังใหม่สร้างเสร็จจึงได้อัญเชิญขึ้นประดิษฐาน แต่ในระหว่างการเคลื่อนย้ายปูนที่หุ้มองค์พระกระเทาะออก จึงทำให้เห็นองค์พระข้างในเป็นทองคำ เมื่อวันที่ ๒๕ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๙๘ ซึ่งตรงกับในสมัยรัชกาลที่ ๙  หลังจากที่หลวงพ่อโม ได้ขึ้นเป็นเจ้าอาวาสวัด ท่านได้พัฒนาวัดอย่างสุดความสามารถ ทั้งการสร้างเสนาสนะต่างๆ และสร้างถาวรวัตถุต่างๆ ภายในวัดให้เจริญรุ่งเรืองขึ้นอย่างสุดความสามารถ  หลวงพ่อโม ท่านขึ้นชื่อว่ามีความศักดิ์สิทธิ์ มีคาถาอาคมเข้มขลัง โดยชาวบ้านในพื้นที่ทั้งชาวไทยและชาวจีน ต่างให้ความเคารพเป็นอย่างสูง วัตถุมงคลของท่านที่มีชื่อเสียงมาจนถึงปัจจุบัน มีทั้งเหรียญปั๊ม และเหรียญหล่อเนื้อชิน  ปกติหลวงพ่อโม ท่านมีพลานามัยแข็งแร

THAILAND AMULET CENTER |CHIANGMAI OFFICE
211/45 the City Villa, Soi Ladprao 126
Ladprao Rd, Kwang Prapla,Wang Thong Lang district
Bangkok 10310 Mobile :66-093-3361995     e-mail:amuletcenter@hotmail.com
พระเครื่องเมืองสยาม| โดย พร บางระจัน:
236/2 หมู่ 5 ,ถนน เชียงใหม่ ลำพูน ,ตำบลยางเนิ้ง,อำเภิสารภี จังหวัดเชียงใหม่ 50140
Tel: 66-053-963029,66-093-3361995  Fax : 66-53-963029
Mobile : 66-093-3361995   e-mail:amuletcenter@hotmail.com
Copyright © 2006 Thailand Amulet Center. Website Terms of Use   |   Privacy Statement Find us on Youtube Facebook