Rian Luang Phor Jad Jor Ja Rern Lab
Name of the image of Buddha: |
Rian Luang Phor Jad Jor Ja
Rern Lab |
Supporter of casting: |
Luang Phor Jad |
Location of Casting or
Finding: |
Wat Bang Kabao ,
Prachinburi Province |
Year of Casting: |
2484 BE |
Praise of the image of
Buddha: |
Harmproof and
invulnerability |
Product : 000067
Price :
1,000,000.00
baht
Phrakhru Sittisakhun 或 Luang Por Jad Kongkasaro,巴真府邦甲寶寺,印度支那戰爭和第二次世界大戰期間著名的僧侶之一“Jad
Chong Kong Yi”。他們四人創造了許多聖物,如護身符襯衫、護身符布, takruds 等,
為參戰的士兵提供士氣和士氣。看起來他們安全返回,直到他們被知道。他的名聲是眾所周知的。在Bhangphrai、隱形、消失、Maha-Ud、無敵等主題方面,他的聖物都非常受歡迎和備受追捧,尤其是“一枚印有Luang
Por Jad形象的硬幣,1941年”是一枚突出的硬幣,在圈子裡很受歡迎。
Luang Por Jat 於 1872 年出生於北柳府帕儂沙拉堪區的 Ban Dong Noi。
後來,他的父親將他養大,成為巴真武里府 Ban Sang 區 Bang Toei 街道 Thin
先生和林思昌夫人的養子. 從此移居巴真武里,20歲時進入班桑區Wat Ban Sang的Kasawapat保護傘,獲得“Kongkasaro”的綽號,並住在Koh
Kaew Weluwan寺的佛教四旬期, Kong Noi
街道,這是家鄉為了學習帕阿贊讓的內觀禪修,在大齋期的第二年之後,他去了曼谷邦卡比的克賴西寺。學習佛法的教義,直到他們精通為止。然後回到邦卡寶寺擔任住持,並終生過四旬齋。你在各個方面都很熟練和精通。科學佛法和內觀冥想他在佛法與戒律上是一位非常嚴格的僧人。直到被遠近的人尊重和相信你為國家做了很多好事。維護佛像,發展各種宗教場所。在Wat
Bang Kabao,直到它作為一個展品而繁榮起來。此外,它還通過建立一所僧侶和沙彌學校來發展教育。以及為最小孩子開設的
Sitthisanukul
學校,並聘請教師進行教學。他還參與了當地幾所學校的建設和維修。可以說,他是一位真正為國家和佛教造福的大和尚。您已獲得簽約的
Phrakhru
軍銜帕赫魯·西蒂薩昆導師他於1956年去世,享年85歲和65歲,1941年為紀念他70歲生日而做功德之際,一枚鑄有Luang
Por Jad肖像的硬幣。
佛教人物
圓形硬幣形狀直徑約 2.5 厘米,連接耳、前、中、龍波子的半尊雕像。頂部有高棉字符,代表 16
尊佛的名字,讀作“Namana Na Nak Anaka Kao On A Na A Kaan”和周圍的泰文字符。背面“Sri
Sang Sanong Grace, 1941, Phra Kru Sitthisarnkun (Jad),
70 歲預期壽命”在背面,中間是圓形的“Phra Pid
Ta”圖片。有高棉文字寫著“Unalom”和“Ma A U”,下面的泰文寫著“Jor.
Charoenlarp”。圓圈的外圈是精美疊放的蓮花花
รายละเอียด:เหรียญหลวงพ่อจาด รุ่นแรก จ.เจริญลาภ
เนื้อทองแดงผิวไฟ
พระครูสิทธิสารคุณ หรือ หลวงพ่อจาด คงฺคสโร วัดบางกระเบา จ.ปราจีนบุรี หนึ่งในพระเกจิอาจารย์ชื่อดังในช่วงสงครามอินโดจีนและสงครามโลกครั้งที่ 2 "จาด จง คง อี๋" ท่านทั้งสี่สร้างวัตถุมงคลมากมาย อาทิ เสื้อยันต์ ผ้ายันต์ ตะกรุด ฯลฯ เพื่อเป็นขวัญและกำลังใจแก่ทหารที่ออกสู้รบ ปรากฏว่าก็กลับมากันอย่างปลอดภัยจนเป็นที่กล่าวขาน กิตติศัพท์ของท่านเป็นที่เลื่องลือ ในด้านวิชาบังไพร ล่องหน หายตัว วิชามหาอุด อยู่ยงคงกระพัน ฯลฯ วัตถุมงคลของท่านล้วนเป็นที่นิยมและแสวงหาอย่างสูง โดยเฉพาะ “เหรียญปั๊มรูปเหมือนหลวงพ่อจาด ปี 2484” นับเป็นเหรียญที่โดดเด่นและเป็นที่นิยมมากในแวดวง
หลวงพ่อจาด เกิดที่บ้านดงน้อย อ.พนมสารคาม จ.ฉะเชิงเทรา ในปี พ.ศ.2415 ต่อมาบิดายกให้เป็นบุตรบุญธรรมของนายถินและนางหลิน สีชัง ที่ ต.บางเตย อ.บ้านสร้าง จ.ปราจีนบุรี ท่านจึงย้ายมาอยู่ที่ปราจีนบุรีตั้งแต่นั้นมา เมื่ออายุครบ 20 ปี ได้เข้าสู่ร่มกาสาวพัสตร์ ณ วัดบ้านสร้าง อ.บ้านสร้าง ได้รับฉายา "คงฺคสโร" แล้วไปจำพรรษาที่วัดเกาะแก้วเวฬุวัน ต.คงน้อย ซึ่งเป็นบ้านเกิด เพื่อร่ำเรียนด้านวิปัสสนากรรมฐานจากพระอาจารย์จีน พอพรรษาที่ 2 จึงไปจำพรรษาที่วัดไกรสีห์ บางกะปิ กรุงเทพมหานคร ศึกษาด้านพระปริยัติธรรมจนเชี่ยวชาญ จากนั้นกลับมารับตำแหน่งเจ้าอาวาสที่วัดบางกระเบาและจำพรรษาอยู่ตลอดอายุขัย ท่านมีความชำนาญและแตกฉานในทุกๆ ศาสตร์ทั้งพุทธาคม พระปริยัติธรรม และวิปัสสนากรรมฐาน ท่านเป็นพระภิกษุที่เคร่งครัดในพระธรรมวินัยและวัตรปฏิบัติอย่างสูง จนเป็นที่เคารพศรัทธาต่อสาธุชนทั้งใกล้ไกล ท่านสร้างคุณงามความดีแก่ประเทศชาติมากมาย ทำนุบำรุงพระบวรพุทธศาสนาและพัฒนาศาสนสถานต่างๆ ในวัดบางกะเบาจนเจริญรุ่งเรืองเป็นที่เชิดหน้าชูตา นอกจากนี้ ยังได้พัฒนาด้านการศึกษาโดยสร้างโรงเรียนพระปริยัติธรรมแก่พระภิกษุสามเณร และโรงเรียนสิทธิสารานุกูลแก่กุลบุตรกุลธิดารวมทั้งจัดจ้างครูมาสอนอีกด้วย ท่านยังมีส่วนร่วมในการสร้างและซ่อมแซมโรงเรียนประชาบาลอีกหลายแห่ง นับได้ว่าท่านเป็นพระเกจิอาจารย์ที่สร้างประโยชน์เพื่อประเทศชาติและพุทธศาสนามาโดยตลอดอย่างแท้จริง ท่านได้รับพระราชทานสมณศักดิ์เป็นพระครูสัญญาบัตรที่ พระครูสิทธิสารคุณ เป็นพระอุปัชฌาย์ และได้รับตำแหน่งเจ้าคณะแขวง อ.บ้านสร้าง จ.ปราจีนบุรี ท่านมรณภาพเมื่อปี พ.ศ.2499 สิริอายุรวม 85 ปี 65 พรรษา เหรียญปั๊มรูปเหมือนหลวงพ่อจาด ปี 2484 นี้ เพื่อเป็นที่ระลึกในโอกาสทำบุญฉลองอายุครบ 70 ปี
พุทธลักษณะ
ลักษณะเป็นเหรียญกลม เส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 2.5 ซม. หูเชื่อม ด้านหน้า ตรงกลางเป็นรูปเหมือนหลวงพ่อจาดครึ่งองค์ มีอักขระขอมด้านบนเป็นพระนามของพระพุทธเจ้า 16 พระองค์ อ่านว่า "นะมะนะอะ นอกอนะกะ กอออนออะ นะอะกะอัง" และอักษรไทยโดยรอบว่า "ศรีสร้างสนองพระคุณ พ.ศ.๒๔๘๔ พระครูสิทธิสารคุณ (จาด) ปีที่ ๗๐ แห่งอายุขัย" ด้านหลัง ตรงกลางเป็นรูป "พระปิดตา" อยู่ภายในวงกลม มีอักขระขอมคำว่า "อุณาโลม" และ "มะ อะ อุ" มีอักษรภาษาไทยด้านล่างว่า "จ.เจริญลาภ" ส่วนรอบนอกของวงกลมเป็นกลีบบัวบานซ้อนกันอย่างสวยงาม |