หลวงพ่อมงคลบพิตร  

TRAVEL TOOLS

 

id7500003000070


 


 

หลวงพ่อมงคลบพิตร หลวงพ่อมงคลบพิตร

 

Rian Phra Mongkhon Bophit 硬幣,Wat Mongkhon Bophit,第一版,1917 年,Phra Nakhon Si Ayutthaya

Name of the image of Buddha: Rian Phra Mongkhon Bophit 硬幣
Supporter of casting: Luang Mongkhon Bophit
Location of Casting or Finding: Wat Mongkhon Bophit

Phra Nakhon Si Ayutthaya

Year of Casting: (B.E. 2460)
Praise of the image of Buddha: merciful Trading prosperity

Product: 000084

Price:1,000,000.00 Baht

Phra Mongkhon Bophit 硬幣,Wat Mongkhon Bophit,第一版,1917 年,Phra Nakhon Si Ayutthaya

Phra Mongkhon Bophit 硬幣,Wat Mongkhon Bophit,第一版,1917 年,Phra Nakhon Si Ayutthaya
佛法圓滿。覆蓋整個宇宙加強貿易,避免供奉者的吉祥,與家庭一起繁榮。老師們,都是那個時代最優秀的老師,出席了開光儀式。
Luang Phor Mongkhon Bophit 護身符,第一個型號,1917 年,在國家一級被認可和表彰為 1 個 benjapakee 佛牌。它是由 Phraya Boran Ratchathanin (Phon Dechagupt) 在擔任舊城總理職位時建造的。作為紀念品給那些有信心為Phra Mongkhon Bophit的修復做出貢獻的人修復第二次失城後斷掉的毛利佛像和右臂,以及修復1917-1920年間破敗的佛堂。它被製成2件,分別是銀和銅。
佛像為橢圓形壓印錢幣,雙耳焊接,表面光滑,正面和背面都有凸起的脊線。正面是龍波蒙坤波菲瑪拉姿勢的複製品,印在祭壇上。背面周圍刻有“Phra Patimakorn Mongkhon Bophit Sri Ayutthaya”字樣,中間是一個護身符。構建不多該節目由銅和銀製成。
這枚硬幣的考慮點是拿起後發光看看有 100 年曆史的金屬機身的性質、線條、酒吧中的字母。點必須是尖銳的。硬幣表面必須光滑、繃緊,沒有癬。硬幣不能膨脹。看眼神就知道銀肩的老狀態。尤其是當雙筒望遠鏡我越是看到被觸摸的肩膀和未被觸摸的肩膀之間的區別。
正面觀察點:1.硬幣鋒利。2.硬幣尖端有小裂紋。3.硬幣尖端是硬幣右下邊緣的凸點。有虛線在印刷品中。傾斜時,即使是一枚印有佛像和不深字母的硬幣但會看到過去雕刻積木和機器所產生的線條的尺寸和清晰度這不像今天那麼強大因為如果它是印刷硬幣泵的重量會有所不同。可能會更深或更小地看到佛像和文字
背面注意事項 1. 是與耳朵相連的硬幣 2. 有符線重疊 3. 上符的尖端會看到沖壓線造成的痕跡4、投幣地板無污泥。 5. 硬幣表面有2個尖凸浮點。 7點左右的護身符下的下角,可以看到硬幣的地板很緊。轉動傾斜看Yantra線的尺寸並不深,但是是當時機器全功率造成的清晰線。
如龍臥佛 Klan, Phrayatikaram 寺, Luang Pho Chai, Phanan Choeng Temple, Phra Phutthawihan Sophon (Luang Por Am) Wat Wong Kong, Phra Achan Chom, Phutthaisawan Temple, Luang Pu Pan, Phikun Sokan Temple 和 Luang Pho Khan, Wat Nok Krajab 等在 Luang Pho Phra Mongkhon Bophit 前開光。在 Luang Pho Phra Mongkhon Bophit 的寺廟帕那空是大城府
Phra Mongkhon Bophit 是最大的青銅佛像之一,以降伏瑪拉的態度。圈寬 9.55 米,高 22.45 米,供奉在大城府帕那空府 Pratuchai 街道的 Wihan Phra Mongkhon Bophit。帕那空是大城府Wat Phra Si Sanphet 以南沒有明確的證據表明它建於任何朝代。
Ayutthaya Chronicle 的記錄說,Viharn Phra Mongkhon Bophit它最初供奉在皇宮的東側。 (是Wat Chee Chiang的地區)直到2146年,Songtham國王下令減速向西。 (現在被奉為神明)也很親切打造一款同時佩戴的 Mondop
直到 1767 年大城府第二次輸給緬甸,緬甸才明白:金色佛像故用火燒佛像剝金製作Phra Mongkhon Bophit以及寺廟被嚴重破壞壞掉的神殿上的機器落到了毛利和尚身上,斷掉的右臂也掉了下來。從那以後一直處於廢墟之中。
Phra Mongkhon Bophit 和 Viharn 於 1956 年在陸軍元帥 Plaek Phibunsongkhram 政府期間再次翻修。在 1957 年翻修期間,美術部還在右護身符中發現了佛像。保存在湄南河國家博物館和昌卡森國家博物館
並於 1990 年在 Somdej Phra Yannasangworn 時再次修復當時的族長主持了通羅澆灌儀式。 “Phra Mongkhon Bophit Replica Buddha Image”給出了這樣的想法Phra Mongkhon Bophit 應該用黃金覆蓋一切為了恩典長期以來,索姆一直是無價的僧侶。大城府(Phra Nakhon Si Ayutthaya Province)因此,與Phra Mongkhon Bophit 基金會一起,“Phra Mongkhon Bophit 修復項目”為了紀念女王陛下女王陛下在國王陛下第五週期 B.E. 2535" 的吉祥之際
此外,當詩麗吉王后陛下拉瑪九世統治時期的女王陛下向帕蒙空博菲特致敬殿下也捐出 50,000 泰銖的個人財產來修復 Phra Mongkhon Bophit。 

เหรียญพระมงคลบพิตร วัดมงคลบพิตร รุ่นแรก พ.ศ. 2460 พระนครศรีอยุธยา

เหรียญพระมงคลบพิตร วัดมงคลบพิตร รุ่นแรก พ.ศ. 2460 พระนครศรีอยุธยา
ด้านพุทธคุณนั้นครบเครื่อง ครอบจักรวาลทั้งมหานิยม เสริมด้านค้าขาย แคล้วคลาด เป็นสิริมงคลสำหรับผู้ที่บูชาทำให้เกิดความเจริญรุ่งเรืองกับครอบครัว ครูบาอาจารย์ล้วนแต่สุดยอดแห่งยุคมาร่วมในพิธีปลุกเสก
เหรียญหลวงพ่อมงคลบพิตร รุ่นแรก ปี 2460 ที่ได้รับการยอมรับและยกย่องให้เป็น 1 เบญจภาคีเหรียญพระพุทธในระดับประเทศ จัดสร้างโดยพระยาโบราณราชธานินทร์ (พร เดชะคุปต์) ขณะดำรงตำแหน่งสมุหเทศาภิบาลมณฑลกรุงเก่า เพื่อเป็นที่ระลึกสำหรับผู้มีจิตศรัทธาร่วมสมทบทุนในการบูรณปฏิสังขรณ์พระมงคลบพิตร ซ่อมแซมพระเมาฬีและพระกรข้างขวาที่แตกหักตั้งแต่ครั้งเสียกรุงครั้งที่ 2 พร้อมทั้งบูรณะพระวิหารที่อยู่ในสภาพชำรุดทรุดโทรมขึ้นใหม่ ในราวปี พ.ศ.2460-2463 โดยจัดสร้างเป็น 2 เนื้อ คือ เนื้อเงินและเนื้อทองแดง
พุทธลักษณะเป็นเหรียญปั๊มรูปไข่ หูเชื่อม พื้นเรียบ ยกขอบเป็นเส้นสันทั้งด้านหน้าและด้านหลัง ด้านหน้า เป็นรูปจำลองหลวงพ่อมงคลบพิตร ปางมารวิชัย ประทับบนอาสนะแท่น จารึกอักษรโดยรอบว่า “พระปฏิมากร มงคลบพิตร ศรีอยุธยา” ด้านหลัง ตรงกลางเป็นยันต์เฑาะว์ จำนวนการสร้างไม่มากนัก ที่นำมาให้ชมเป็นเนื้อทองแดงกะไหล่เงินครับ
จุดพิจารณาของเหรียญนี้นั้น หลังจากหยิบขึ้นมาส่องนั้น ดูธรรมชาติของเนื้อโลหะเก่าอายุ 100 ปี เส้นสาย ตัวหนังสือเป็นแท่ง จุดต่างๆต้องมีความคมชัด พื้นเหรียญต้องเรียบตึงต้องไม่เป็นขี้กลาก เหรียญต้องไม่บวม ดูด้วยสายตาจะเห็นสภาพความเก่าของกะไหล่เงิน ยิ่งเมื่อส่องกล้อง ยิ่งเห็นความต่างของกะไหล่ที่โดนสัมผัสและไม่โดนสัมผัส
จุดสังเกตด้านหน้า 1. เม็ดพระศกคมชัด 2. ปลาย ล มีเส้นแตกเล็กๆออกมา 3. ปลาย ฏ เป็นจุดนูนๆ ตรงขอบเหรียญล่างขวาจะมีเส้นแตกเป็นตำหนิในพิมพ์ เมื่อเอียงส่องถึงแม้นว่าเป็นเหรียญปั๊มองค์พระและตัวอักษรที่ไม่ลึก แต่จะเห็นมิติและความคมของเส้นสายต่างๆอันเกิดจากการแกะบล็อกและเครื่องจักรในสมัยก่อน ที่ไม่มีกำลังมากเหมือนในปัจจุบัน เพราะถ้าเป็นเหรียญถอดพิมพ์ น้ำหนักของการปั๊มจะต่างกัน อาจจะเห็นองค์พระและตัวหนังสือลึกมากกว่านี้หรือเล็กกว่าก็เป็นได้
จุดสังเกตด้านหลัง 1. เป็นเหรียญหูเชื่อม 2. มีเส้นยันต์ซ้อนกัน 3. บริเวณปลายยันต์ด้านบน จะเห็นรอยที่เกิดจากการปั๊มเป็นแนวอยู่ 4.พื้นเหรียญไม่มีขี้กาก 5.มีจุดลอยนูนคมๆขึ้นมา 2 จุดบนพื้นเหรียญ มุมล่างใต้ยันต์บริเวณ 7 นาฬิกา จะเห็นได้ว่าพื้นเหรียญจะตึงมาก พลิกเอียงส่องเห็นเป็นมิติของเส้นยันต์ที่ไม่ลึกแต่เป็นเส้นชัดเจนอันเกิดจากการปั๊มเต็มกำลังเครื่องจักรในสมัยนั้น
เช่น หลวงพ่อกลั่น วัดพระญาติการาม, หลวงพ่อฉาย วัดพนัญเชิง, พระพุทธวิหารโสภณ (หลวงพ่ออ่ำ) วัดวงฆ้อง, พระอธิการชม วัดพุทไธศวรรย์, หลวงปู่ปั้น วัดพิกุลโสคัน และ หลวงพ่อขันธ์ วัดนกกระจาบ เป็นต้น ปลุกเสกที่หน้าพระพักตร์หลวงพ่อพระมงคลบพิตร ในพระวิหารหลวงพ่อพระมงคลบพิตร จ.พระนครศรีอยุธยา
พระมงคลบพิตร เป็นพระพุทธรูปอิฐบุด้วยทองสำริด ปางมารวิชัย ที่ใหญ่ที่สุดองค์หนึ่งของไทย ขนาดหน้าตักกว้าง 9.55 เมตร สูง 22.45 เมตร ประดิษฐาน ณ วิหารพระมงคลบพิตร ต.ประตูชัย อ.พระนครศรีอยุธยา จ.พระนครศรีอยุธยา ทางทิศใต้ของวัดพระศรีสรรเพชญ์ ไม่ปรากฏหลักฐานแน่ชัดว่าสร้างในรัชสมัยใด
บันทึกของพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา กล่าวว่า วิหารพระมงคลบพิตรนั้น เดิมประดิษฐานอยู่ด้านทิศตะวันออกของพระราชวังหลวง (เป็นบริเวณวัดชีเชียง) จนในปี พ.ศ.2146 สมเด็จพระเจ้าทรงธรรม โปรดเกล้าฯ ให้ชะลอมาไว้ทางด้านทิศตะวันตก (ที่ประดิษฐานอยู่ ณ ปัจจุบัน) และยังโปรดเกล้าฯ ให้สร้างพระมณฑปสวมไว้ในคราวเดียวกัน
จนกระทั่งกรุงศรีอยุธยาเสียแก่พม่าครั้งที่ 2 ปี พ.ศ.2310 พม่าเข้าใจว่า เป็นพระพุทธรูปทองคำ จึงใช้ไฟสุมองค์พระเพื่อลอกทองออก ทำให้องค์พระมงคลบพิตร ตลอดจนพระวิหารได้รับความเสียหายเป็นอย่างมาก เครื่องบนพระวิหารที่หักลงมาต้องพระเมาฬีและพระกรข้างขวาแตกหักตกลงมา กลายเป็นซากปรักหักพังนับแต่นั้นมา
องค์พระมงคลบพิตรและวิหารได้รับการบูรณะใหญ่อีกครั้งในสมัยรัฐบาล จอมพล ป. พิบูลสงคราม ปี พ.ศ.2499 ระหว่างการบูรณะในปี พ.ศ.2500 กรมศิลปากรยังได้พบพระพุทธรูปบรรจุในพระอุระด้านขวาเป็นจำนวนมาก ซึ่งได้นำไปเก็บรักษาไว้ที่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เจ้าสามพระยา และพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ จันทรเกษม
และได้รับการบูรณะอีกครั้ง เมื่อปี พ.ศ.2533 ในคราวที่สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สมัยนั้น เสด็จฯ เป็นประธานเททองหล่อ “พระพุทธรูปพระมงคลบพิตรจำลอง” ได้ประทานพระดำริว่า ควรปิดทององค์พระมงคลบพิตร ทั้งองค์เพื่อความสง่างาม สมเป็นพระคู่บ้านคู่เมืองมายาวนาน ทางจังหวัดพระนครศรีอยุธยา จึงร่วมกับมูลนิธิ พระมงคลบพิตร จัดทำ “โครงการบูรณะปิดทองพระมงคลบพิตร เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ในวโรกาสที่ทรงเจริญพระชนมพรรษา 5 รอบ พ.ศ.2535”
ประกอบกับเมื่อสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ในรัชกาลที่ 9 เสด็จฯ ทรงนมัสการพระมงคลบพิตร พระองค์ทรงพระราชทานพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์จำนวน 50,000 บาท เพื่อบูรณปฏิสังขรณ์องค์พระมงคลบพิตรด้วย

 

 
THAILAND AMULET CENTER |CHIANGMAI OFFICE
211/45 the City Villa, Soi Ladprao 126
Ladprao Rd, Kwang Prapla,Wang Thong Lang district
Bangkok 10310 Mobile :66-093-3361995     e-mail:amuletcenter@hotmail.com
พระเครื่องเมืองสยาม| โดย พร บางระจัน:
236/2 หมู่ 5 ,ถนน เชียงใหม่ ลำพูน ,ตำบลยางเนิ้ง,อำเภิสารภี จังหวัดเชียงใหม่ 50140
Tel: 66-053-963029,66-093-3361995  Fax : 66-53-963029
Mobile : 66-093-3361995   e-mail:amuletcenter@hotmail.com
Copyright © 2006 Thailand Amulet Center. Website Terms of Use   |   Privacy Statement Find us on Youtube Facebook