:: 泰国佛牌买卖-Budddhism amulet-Thai Buddha Amulets     โดย พร  บางระจัน  

TRAVEL TOOLS

 

id7500003000070


 


 

 

Phra Somdej Bangkhunprom

Name of the image of Buddha: Phra Somdej Bangkhunprom
Supporter of casting: Pra Puttajarn (Dto) Prohmrangsri.
Location of Casting or Finding: Wat Bang Khun Prom , Bangkhunprom , Bangkok
Year of Casting: 2409BE
Praise of the image of Buddha: Harmproof , radiating with charm and bring good fortune.
Categories: Amulet, Luang Pu Dto, Phra Somdej Bangkhunprom

 

King of all Thai Amulets  Phra Somdej Bang Khun Prom by Somdej Pra Puttajarn (Dto) Prohmrangsri.

Product :000142

Price :500,000.00

Detail:Wat Bang Khun Prom pim Sandai  by Somdej Pra Puttajarn (Dto) Prohmrangsri

Phra Somdej Wat Bang Khun Phrom
挽坤佛寺這是一座只有隆武里時代的寺廟。原名“ Wat Wararam Taram”,但村民經常稱其為“ War Wararam Taram” “ Wat Bang Khun Phrom”以後,有一條道路橫穿,因此分為兩個寺廟:Wat Bang Khun Phrom Nai。還有Wat Bang Khun Phrom Nok誰的名字後來“ Wat Intharawihan”,一些坤帕諾克神廟後來,名稱更改為“ Wat Mai Amatros”,這是傳說中的和尚的傳說,著名的佛像護身符是“ Phra Somdej Bang Khun Phrom”非常有名。原來,Wat Bang Khun Phrom有贊助人讚助的寺廟是一支巨大的力量。 “ Phra Chao In”和誰接近感染“ Somdej Phutthachan To”(Phrom Raising),一位非常有名的和尚。 Phra Chao In已放棄資產購買土地並將其交給Bang Khun Phrom寺院,以擴展到大量翻新工程以美化寺院內的建築物。後來,在Phra Chao In盡頭以下是廟宇的光顧“瓢蟲店員” Thanakoset“ Thanakoset” Wat Bang Khun Phrom的修復已從破敗中消失了。朝仁殿下去世後但是,該商標的業務員是盡可能尊重和相信Somdej Phutthacharn To的人,甚至為Somdej Phuthacharn To創建了一個大型佛像,即“ Phra Luang Pho To”,目前在Wat Intharawihan供奉Somdet Phuthachan To常在Wat Bang Khun Phrom記憶和宣講使其與店員Duang Yom保持聯繫,也光顧Wat Bang Khun Phrom。眾所周知Chao Prakhun Somdej Phutthacharn到他是建造Phra Somdej Wat Rakang的人。最好的泰國護身符他於1866年被任命為皇室成員後創作的“ Somdej Phutthachan”並於1870年建成著名僧侶Khachon Khachai的“ Somdet Wat Bang Khun Phrom”未被Phra Somdej Wat Rakang擊敗。1870年,Duang的店員阿拉沙那·索姆傑·普塔查幹創建和尚包含在Wat Bang Khun Phrom的佛塔中繼承宗教和未來當國家或人民陷入困境時將用於消除痛苦Chao Prakhun Somdej Phutthacharn因此允許和創造通過引入Phra Somdej Wat Rakang的模具“ Luang Chian Chiannai”的模具來製作並製造更多新模具Luang Chian Chearnai有5種類型,即:1. Phok Pho; 2.大字體3. Chedi形狀。 4. Pim Ket Buatum 5.打印底座其他4個新的打印類型是:1.紗線類型2.打印命令3.雙基礎類型。 4. Pimok Garuda頭Phra Somdej Wat Bang Khun Phrom的印刷品總共印製了9張,甲殼蟲的店員帶來了製造石灰粉的材料,以及將其混入肉中以準備和尚的材料。 Chao Prakhun Somdej融合了他著名的魔術粉。神奇的粉末是5種類型的粉末,與用於製作著名的Phra Somdej Wat Rakang的肉混合在一起,當完全混合後,將其壓在模具上。 Chao Prakhun Somdej Phutthacharn到然後進入當時的誦經儀式,Somdej Phuthachan To帶來了您之前建造的鐘廟僧侶的數量,大約還有四名僧侶; 2425年,有人偷偷溜走了僧侶。由於Ma下,國王的詞彙它可以通過跌倒或僧侶的方式治療霍亂(霍亂)。是在竹子的一端帶一根長長的竹子樹幹,塗上黏土形成水泡。然後將其插入寶塔的進氣口,使竹子的末端有黏土撞到地面上為了和尚上來在泰國與法國交戰的2436年,僧侶人數眾多。導致人們再次去和尚為了有一個和尚來保護自己這次有很多僧侶,在1907年又有一次倒台。使三跌倒的和尚這樣,在那裡的僧侶就不會暴露在暴徒湯姆·切迪(Thug Thom Chedi)的土壤或殘骸中因此是一個很漂亮的和尚手柄上幾乎沒有污漬。通常被稱為“ Phra Kru Old”,在2500年,一群反派分子認為佛像是捷徑。因此偷偷去刺穿寶塔並得到很多僧侶使Bang Khun Phrom寺廟的委員會成員們聚在一起並準備同意開放Phra Somdej Wat Bang Khun Phrom分庭為了向公眾發布帶來金錢來修temple聖殿因此,該團體正式成立,當時普拉帕斯·楚魯沙汀將軍主持了該會議廳的開幕,約有2,900名僧侶完成了活動。還有更多損壞和折斷大多數破碎的護身符在臉上都會有污漬。因為它被寶塔中的土壤和水泥堆積美是首屈一指的最早的佛牌護身符是1957年正式開放的護身符,被稱為“ Phra Kru Mai”,上面有9個版畫。最小的打印類型是Pim Prok Pho,即僅找到17個,但更特殊的是遇見了Wat Ket Chaiyo的佛像和臥佛(Phra Reclining),不多Phra Somdej Wat Bang Khun Phrom不管是舊的護身符或新的護身符Phutthakhun至少不亞於Phra Somdej Wat Rakang。因為Somdej Putthachan Towromrungsi他參與了創作和誦經,因此Phutthakhun與以往一樣。

 

พระสมเด็จบางขุนพรหม พิมพ์เส้นด้าย 

รหัสสินค้า: 000142

ราคา: 500,000.00 บาท

 

รายละเอียด:

พระสมเด็จบางขุนพรหม พิมพ์เส้นด้าย
พระสมเด็จ วัดบางขุนพรหม
วัดบางขุนพรหม เป็นวัดซึ่งมีแต่ครั้งกรุงธนบุรี เดิมมีชื่อเรียกว่า "วัดวรามตาราม" แต่ชาวบ้านมักจะเรียกกันว่า "วัดบางขุนพรหม" ต่อมามีถนนตัดผ่านจึงแบ่งแยกออกเป็นสองวัด คือ วัดบางขุนพรหมใน และวัดบางขุนพรหมนอก ซึ่งมีชื่อต่อมาก็คือ "วัดอินทรวิหาร" นั่นเอง ส่วนวัดบางขุนพรหมนอก ต่อมาก้เปลี่ยนชื่อเป็น "วัดใหม่อมตรส" ซึ่งเป็นวัดต้นตำนานพระกรุที่ลือชื่อก็คือ "พระสมเด็จบางขุนพรหม" ที่มีชื่อเสียงขจรขจายเป็นอย่างยิ่ง เดิมทีวัดบางขุนพรหม มีผู้อุปถัมภ์อุปการะวัดเป็นกำลังสำคัญก็คือ "พระองค์เจ้าอินทร์" และเป็นผู้ที่สนิทชิดเชื้อกับ "สมเด็จพุฒาจารย์โต" (พรหมรังสี) อริยสงฆ์ที่มีชื่อเสียงโด่งดังเป็นอย่างยิ่ง พระองค์เจ้าอินทร์ได้สละทรัพย์เพื่อซื้อที่ดินมอบให้แก่วัดบางขุนพรหมเพื่อขยายให้กว้างขวางเป็นจำนวนมากปฏิสังขรณ์สิ่งก่อสร้างภายในวัดให้สวยงาม ต่อมาเมื่อสิ้นพระองค์เจ้าอินทร์ ผู้มีอุปการะวัดคนต่อมาก็คือ "เสมียนตราด้วง" ต้นตระกูล "ธนโกเศศ" ท่านเป็นผู้ผฏิสังขรณ์ บูรณะวัดบางขุนพรหมหายจากการชำรุดทรุดโทรม หลังจากพระองค์เจ้าอินทร์ได้สิ้นพระชนม์ลง แต่เสมียนตราด้วงผู้นี้ก็เป็นผู้ที่เคารพและศรัทธาต่อสมเด็จพุฒาจารย์โตเป็นอย่างที่สุดถึงขนาดได้สร้างพระองค์ใหญ่ถวายแด่สมเด็จพูฒาจารย์โตก็คือ "พระหลวงพ่อโต" ซึ่งปัจจุบันประดิษฐานอยู่ที่วัดอินทรวิหาร สมเด็จพุฒาจารย์โต มักจะมาจำวัดและเทศนาที่วัดบางขุนพรหมประจำ ทำให้มีความสนิทชิดเชื้อกับเสมียนตราด้วง โยมอุปถัมภ์ วัดบางขุนพรหมเป็นอย่างดี เป็นที่ทราบกันดีว่า เจ้าประคุณสมเด็จพุฒาจารย์โต ท่านได้เป็นผู้ที่สร้างพระสมเด็จวัดระฆัง สุดยอดของพระเครื่องของเมืองไทย ซึ่งท่านได้สร้างเมื่อปี 2409 ภายหลังจากท่านได้รับพระราชทานแต่งตั้งเป็น "สมเด็จพุฒาจารย์" และสิ้นสุดการสร้างเมื่อปี พ.ศ.2413 ท่านได้สร้างพระ "สมเด็จวัดบางขุนพรหม" ซึ่งเป็นพระที่มีชื่อเสียงขจรขจาย ไม่แพ้พระสมเด็จวัดระฆังเลยทีเดียว ในปี พ.ศ.2413 เสมียนตราด้วง ได้อาราธนาสมเด็จพุฒาจารย์โต ให้สร้างพระขึ้นมา เพื่อบรรจุไว้ในพระเจดีย์ที่วัดบางขุนพรหม เพื่อไว้สืบทอดศาสนาและไว้สำหรับภายภาคหน้า เมื่อยามบ้านเมืองหรือประชาชนทุกข์ร้อน ก็จะได้นำมาไว้ใช้เพื่อขจัดความทุกข์ร้อน เจ้าประคุณสมเด็จพุฒาจารย์โตจึงอนุญาตและได้ทำการสร้าง โดยให้นำแม่พิมพ์ของ "หลวงวิจารณ์ เจียรนัย" ซึ่งเป็นแม่พิมพ์พระสมเด็จวัดระฆังมาให้ในการสร้าง และทำให้แม่พิมพ์เพิ่มขึ้นมาใหม่อีก โดยพิมพ์ของหลวงวิจารณ์ เจียรนัย มีอยู่ทั้งหมด 5 พิมพ์ คือ 1.พิมพ์ปรกโพธิ์ 2.พิมพ์ใหญ่ 3.พิมพ์ทรงเจดีย์ 4.พิมพ์เกศบัวตูม 5.พิมพ์ฐานแซม ส่วนพิมพ์ที่ทำขึ้นมาใหม่อีก 4 พิมพ์คือ 1.พิมพ์เส้นด้าย 2.พิมพ์สังฏิ 3.พิมพ์ฐานคู่ 4.พิมพ์อกครุฑเศียรบาตร ทำให้พิมพ์พระสมเด็จวัดบางขุนพรหมมีทั้งหมด 9 พิมพ์ด้วยกัน เสมียนตราด้วงได้นำวัสดุประกอบการสร้าง คือ ปูนขาว ผง ตลอดจนวัสดุในการผสมให้เป็นเนื้อพร้อมที่จะทำพระ ส่วนเจ้าประคุณสมเด็จได้มอบผงวิเศษอันมีชื่อเสียงของท่านมาผสม ผงวิเศษนั้นก็คือ ผง 5 ชนิดที่ใช้ผสมกับเนื้อพระที่ใช้ทำพระสมเด็จวัดระฆังอันลือชื่อ ประกอบด้วย 1.ผงอิธะเจ 2.ผงปถมัง 3.ผงตรีนิสิงเห 4.ผงมหาราช 5.ผงพุทธคุณ เมื่อนำมาผสมเสร็จก็นำไปกดที่แม่พิมพ์ เจ้าประคุณสมเด็จพุฒาจารย์โต ก็เข้าทำพิธีปลุกเสก ในครั้งนั้น สมเด็จพุฒาจารย์โต ได้นำพระวัดระฆังที่ท่านสร้างไว้ก่อน จำนวนหนึ่งประมาณ สี่บาตรพระ เข้าไปร่วมบรรจุไว้ในเจดีย์ด้วย ในปี พ.ศ.2425 ได้มีคนลอบนำพระออกมาจากเจดีย์ เพราะกิติศัพท์ของพระสมเด็จ ใช้รักษาโรคห่า (อหิวาตกโรค) ได้ โดยใช้วิธีตกหรือการตกพระ คือการนำลำไม้ไผ่ยาว ๆ ส่วนปลายข้างหนึ่งของไม้ไผ่นำดินเหนียวมาพอกให้เป็นตุ่ม แล้วสอดเข้าไปในช่องอากาศขององค์พระเจดีย์ให้ปลายไม้ไผ่มีดินเหนียวพอกกระทบกับพื้น เพื่อจะได้พระติดขึ้นมา ทำให้ได้พระไปจำนวนหนึ่ง ในปี พ.ศ.2436 เกิดสงครามไทยกับฝรั่งเศส ทำให้ประชาชนพากันไปตกพระอีก เพื่อจะได้พระมาไว้ป้องกันตัว คราวนี้ได้พระไปจำนวนมากพอสมควร และในปี พ.ศ.2450 ก็มีการตกพระอีก พระที่ทำการตกทั้งสามครั้งนั้น จะได้พระที่อยู่บน ๆ ไม่โดนดินหรือเศษฝุ่นในเจดีย์ทักถม จึงเป็นพระที่มีความสวยงามชัดเจน มีคราบกรุจับน้อย ซึ่งมักจะเรียกกันว่า "พระกรุเก่า" ในปี พ.ศ.2500 ได้มีคนร้ายกลุ่มหนึ่งคิดจะได้พระทางลัด จึงได้ลอบไปเจาะองค์พระเจดีย์เสียเลยและได้พระจำนวนมาก ทำให้กรรมการของวัดบางขุนพรหมได้ประชุมกัน แล้วพร้อมตกลงที่จะเปิดกรุพระสมเด็จวัดบางขุนพรหม เพื่อที่จะนำออกจำหน่ายให้ประชาชน เพื่อนำเงินมาบูรณะวัด จึงมีการเปิดกรุเป็นทางการ โดยได้ พล.อ.ประภาส จุรุเสถียร เป็นประธานในการเปิดกรุในครั้งนั้นได้พระมาประมาณ 2,900 องค์ เป็นพระที่สมบูรณ์ และที่ชำรุดแตกหักอีกเป็นจำนวนมาก พระที่แตกกรุออกมาจะมีคราบกรุจับหน้าเสียส่วนใหญ่ เพราะโดนดินและเศษปูนในเจดีย์ทับถม ความสวยงามเป็นรอง พระที่ทำการตกพระครั้งแรก ๆ พระที่ทำการเปิดกรุเป็นทางการเมื่อปี พ.ศ.2500 จึงเรียกกันว่า "พระกรุใหม่" มีครบทั้งหมด 9 พิมพ์ ดังได้กล่าวไว้ข้างต้น พิมพ์ที่มีน้อยทีุ่สุด คือ พิมพ์ปรกโพธิ์ คือ พบแค่ 17 องค์เท่านั้น แต่ที่พิเศษกว่านั้นก็คือ ได้พบพระของวัดเกศชัยโย และพระปางไสยาสน์ (พระนอน) อีกจำนวนไม่มากนัก พระสมเด็จวัดบางขุนพรหม ไม่ว่าจะเป็นพระกรุเก่า หรือพระกรุใหม่ พุทธคุณไม่ได้ยิ่งหย่อนไปกว่าพระสมเด็จวัดระฆังเลย เพราะสมเด็จพุฒาจารย์โตพรหมรังษี ท่านได้ร่วมในการสร้างและปลุกเสก เพราะฉะนั้น พุทธคุณนั้นสุดยอดเหมือนกันเลยทีเดียว

@--------------------- ขอบคุณครับ ---------------------@

--------- เพื่อนๆท่านใดสนใจโทรติดต่อด่วนครับ ---------
--------------- พร บางระจัน 081-7842076 -----------------

 
THAILAND AMULET CENTER |CHIANGMAI OFFICE
211/45 the City Villa, Soi Ladprao 126
Ladprao Rd, Kwang Prapla,Wang Thong Lang district
Bangkok 10310 Mobile :66-093-3361995     e-mail:amuletcenter@hotmail.com
พระเครื่องเมืองสยาม| โดย พร บางระจัน:
236/2 หมู่ 5 ,ถนน เชียงใหม่ ลำพูน ,ตำบลยางเนิ้ง,อำเภิสารภี จังหวัดเชียงใหม่ 50140
Tel: 66-053-963029,66-093-3361995  Fax : 66-53-963029
Mobile : 66-093-3361995   e-mail:amuletcenter@hotmail.com
Copyright © 2006 Thailand Amulet Center. Website Terms of Use   |   Privacy Statement Find us on Youtube Facebook