崇父勳章 窗外測量 大正面 sema 印刷,1942 年 (Yan U Por Por Khor),銅材料。
by
Luang Phor Chong/Wat Na Tang Nok(Ayutthaya
Product
:000209
Price :1,000,000.00
Detail:Luang Phor Chong/Wat Na Tang Nok(Ayutthaya)
Luang Phor
Chong
Phutthassaro,印度支那戰爭和第二次世界大戰期間四位非常有名的上師之一,被稱為“Jad
Chong Kong
Yi”,他的護身符一直很受歡迎,今天繼續被發現。非常困難而且眾所周知,第一枚肖像幣往往是最受歡迎的。但與佛陀的傑出外表相比,並非總是如此,例如一枚鑄有
Luang Por
Jong
Phutthassaro、Wat
Window Nok
肖像的硬幣。帕那空是大城府在護身符圈中,它被稱為“Pimniyom”,而是第二代創造的硬幣,即“泵幣”。流行印花,大正面,1942年”也可能有精美精美的圖案。
莊神父於 1872
年出生於大城府邦賽區那邁縣。他小時候很害羞,多病,昏昏欲睡,耳朵模糊,看不見清楚地。因此,他的父母在
12
歲時出家為沙彌,直到他完全出家,他才在
Wat Window
Nai 出家為僧。與導師
Sun, Wat
Bang Pla Mo
為他的導師帕阿詹河粉測量窗口作為和尚和Phra
Achan
In窗外測量是一座紀念碑,被稱為“Buddhassaro”。之後,前往Wat
Window Nai的寺廟學習Phra
Ajarn Pho的科目。並從Wat
Pikun的Luang
Pu
Pan學習內觀那個時代最著名的和尚這是驚人的。進入聖職後,他小時候的所有症狀都完全消失了。能夠學習各種科學從眾僧善明到2450年,Wat
Window Nok的住持是空的。村民請他為方丈繼續。他統治、監督和發展了外窗寺,直到繁榮昌盛。它受到遠近佛教徒的尊重。經常有弟子和人不斷來拜拜。他們大多要求聖水和各種聖物。回禮拜吉祥他於
1965 年去世,享年
94 歲,也就是他的第
72 個年頭。
莊神父製作了這枚“1942年圖幣”,分發給公務員和平民,以保護自己免受戰爭的傷害。海量內容銅製
佛教人物
Luang Phor
Jong
1942年的郵票。有兩種類型,即降服瑪拉的坐姿。和打印冥想這裡會提到“Pim
Nang Pang
Mara Wichai”是一種流行的印刷品。它也分為兩種類型,即大頁面和小頁面打印。
《大字報》
它是一種帶有內置耳朵的sema形硬幣,銅材質,正面飾有Kanok圖案。中間是充滿佛像的
Luang Phor
Chong
的圖像。以龐瑪拉的姿勢坐著佛像周圍有5個高棉大字,如五佛之心“那摩佛陀雅”,背面中間是“四角台”,頂部是泰文字母“公社”
”
在底部。那個“Luang
Por Chong
2485”
正面的“小臉印”不同的是,臉是修長的。年末BE
會更大,並排成直線。不像大字那樣彎曲。
佛
One of the
top 10 great
Guru monks
of the
country is
Luang Phor
Chong of Wat
NaTangNok
Temple,
BangSai
district,
Ayuthaya
province. He
passed away
on the
Buddhist
important
MaKhaBuCha
day of
February
17th,
B.E.2508,
with the age
of 93.
Luang Phor
Chong and
Luang Phor
Parn of Wat
BangNomKho
are close
friends and
respected
high Dhamma
practices of
each other.
They had the
same
teachers viz
LP Soon of
Wat
BangPlaMoh
and LP Paan
of Wat
PikulSokant.
Even Luang
Phor Parn
reached
extremely
high
miraculous
knowledges
of "Apinya"
and "Wipassana",
he still
often
admired
Luang Phor
Chong as a
good great
monk.
Once in the
evening
Luang Phor
Chong was
taking a
rest at the
pier in
front of his
temple, a
small group
of men rowed
across the
canal. After
tying a boat
robe to a
pier hook,
one said
unrespectably
to Luang
Phor
Chong,"Luang
Phor, would
you guard my
boat because
I was told
that so many
thiefs
around
here." The
old Luang
Phor Chong
said slowly
and
mercifully
to that
man,"
Alright,
I'll guard
your boat as
mine...don't
worry."
The group of
men came
back to the
pier at
around
midnight,
they saw
Luang Phor
Chong still
sat alone at
the pier.
"Wow, how
great it is,
you're still
sitting here
so many
hours, I
thank you
for guarding
my boat,"
said a man.
"You ordered
me to guard
your boat, I
completely
did it,"
Luang Phor
Chong said
slowly to
the man.
But at the
evening of
the next
day, the men
came to
Luang Phor
Chong's
Kuti(monk's
house) with
flowers,
incenses and
candles on
their hands.
They had
paid
obeisance to
Luang Phor
Chong and
said " I
come here to
apologize
you for
ordering to
guard my
boat, I have
been told
that the you
are Luang
Phor Chong,
so please
apologize
all of us
for doing a
great sin,
please grant
us your
apology."
Huh,huh...alright
man...you
ordered me
and I did it
for you
...it's no
sin
.....from
now on
remind
yourself do
not order
any monk as
your
servant,"
said Luang
Phor Chong.
He also
taught them
a short
brief of
Buddha's
Dhamma. All
the men
listened
quietly and
wept, then
they pay
obeisance
with full
respect to
Luang Phor
Chong's
legs.
Luang Phor
Chong was a
great donor.
Any temple
troubled
with lacking
of Kutis, he
would order
his monk
disciples
dismantle
them and
brought to
the lacking
temple. Even
thiefs came
into his
temple to
steal some
thing that's
difficult to
get, Luang
Phor Chong
knew that
and called
them to get
it.Yes, he
gave stuffs
to thiefs
but never
forgot to
taught them
that
stealing
monk's
stuffs was a
great sin.
Many thiefs
gave up
stealing by
his
teachings.
Luang Phor
Parn of Wat
BangNomKho
admired
Luang Phor
Chong to all
his
disciples
that he was
like a gold
monk statue,
and that a
monk of this
kind one
should never
beg anything
from him
because he
would give
everything
that was
begged for.
Whenever
Laung Phor
Parn
performed
any
religious
ritual at
his temple,
he would
invite Luang
Phor Chong
to join.
Once Luang
Phor Parn
urged his
close monk
disciple to
go by a
motor boat
to invite
Luang Phor
Chong to
join a
ritual , but
Luang Phor
Chong told
the monk to
go back in
advance and
he would go
by himself
later. As
soon as the
monk had
come back
and reported
to Luang
Phor Parn
that Luang
Phor Chong
would come
later, Luang
Phor Parn
laughed
mildly and
pointed to
Luang Phor
Chong who
was sitting
right
there!! How
did he come
with a short
time? It's
many miles
distance
between the
two temples,
if going by
walking it
would take a
few hours.
It was
recorded
that Luang
Phor Chong
reached the
highest
knowledge of
"PatiSamPhiThaYan"
which
covered
highest
ability to
perform
miracle of
all kinds.
Whoever
reaches this
state will
have
comprehensive
knowledges
over all Tri
Pitaka
automatically
and could
rush to
anywhere in
a short
time.
Luang Phor
Chong
created many
kinds of
amulets
since the WW
II, such as
medals,
small
statues,
ivory-tusk
Rajasihas,
metal Ta
Pian fish ,
sacred
jackets,
etc. His
amulets are
very good
for warding
off dangers
of all
kinds, while
his Ta Pian
fish is good
for fortune
fetching.
เหรียญหลวงพ่อจง วัดหน้าต่างนอก พิมพ์เสมาหน้าใหญ่ ปี พ.ศ.2485 (ยันต์อุ พ.ศ.โค้ง) เนื้อทองแดง
รายละเอียด:เหรียญหลวงพ่อจง วัดหน้าต่างนอก พิมพ์เสมาหน้าใหญ่ ปี พ.ศ.2485 (ยันต์อุ พ.ศ.โค้ง) เนื้อทองแด
หลวงพ่อจง
พุทธัสสโร
หนึ่งในสี่พระเกจิอาจารย์ชื่อดังมากช่วงสงครามอินโดจีนและสงครามโลกครั้งที่
2 นาม “จาด
จง คง อี๋”
วัตถุมงคลของท่านได้รับความนิยมสูงสืบเนื่องมาถึงปัจจุบันและหายากมากๆ
และเป็นที่ทราบกันโดยทั่วไปว่าเหรียญรูปเหมือนรุ่นแรกมักจะเป็นที่นิยมที่สุด
แต่ก็ไม่เสมอไปทุกกรณีเมื่อเทียบกับพุทธคุณที่ปรากฏโดดเด่น
ดังเช่น
เหรียญปั๊มรูปเหมือนของหลวงพ่อจง
พุทธัสสโร
วัดหน้าต่างนอก
จ.พระนครศรีอยุธยา
ที่วงการพระเรียกกันว่า
“พิมพ์นิยม”
กลับเป็นเหรียญที่สร้างเป็นรุ่นที่
2 นั่นคือ “เหรียญปั๊มรูปเหมือน
พิมพ์นิยมหน้าใหญ่
ปี 2485”
อาจเป็นด้วยมีรูปแบบที่งดงามประณีต
หลวงพ่อจง
ถือกำเนิดที่
ต.หน้าไม้ อ.บางไทร
จ.พระนครศรีอยุธยา
ปี พ.ศ.2415
ตอนเด็กค่อนข้างขี้อาย
ขี้โรค
เซื่องซึม
หูตาฝ้าฟางมองไม่ค่อยชัดเจน
บิดามารดาจึงให้บวชเป็นสามเณรตอนอายุ
12 ปี
จนเมื่ออายุครบอุปสมบทจึงบวชเป็นพระภิกษุ
ณ
วัดหน้าต่างใน
โดยมีพระอุปัชฌาย์สุ่น
วัดบางปลาหมอ
เป็นพระอุปัชฌาย์
พระอาจารย์โพธิ์
วัดหน้าต่างใน
เป็นพระกรรมวาจาจารย์
และพระอาจารย์อินทร์
วัดหน้าต่างนอก
เป็นพระอนุสาวนาจารย์
ได้รับฉายา “พุทธัสสโร”
หลังจากนั้น
ไปจำพรรษาที่วัดหน้าต่างในเพื่อศึกษาวิชาจากพระอาจารย์โพธิ์
และร่ำเรียนด้านวิปัสสนากรรมฐานจากหลวงปู่ปั้นแห่งวัดพิกุล
สุดยอดพระเกจิดังในยุคนั้น
และเป็นที่น่าอัศจรรย์ยิ่งนัก
หลังจากที่ท่านได้เข้าสู่สมณเพศ
อาการต่างๆ
ที่เป็นเมื่อตอนเด็กนั้นหายไปจนหมดสิ้น
สามารถศึกษาร่ำเรียนวิทยาการต่างๆ
จากพระอาจารย์ทั้งหลายได้อย่างเชี่ยวชาญและแตกฉาน
จนกระทั่งปี
พ.ศ. 2450
เจ้าอาวาสวัดหน้าต่างนอกว่างลง
ชาวบ้านจึงนิมนต์ท่านเป็นเจ้าอาวาสสืบต่อ
ท่านปกครองดูแลและพัฒนาวัดหน้าต่างนอกจนเจริญรุ่งเรือง
เป็นที่เคารพศรัทธาของพุทธศาสนิกชนทั้งใกล้ไกล
มักมีลูกศิษย์ลูกหาและผู้คนแวะเวียนมากราบนมัสการกันเป็นเนืองนิจ
ส่วนใหญ่จะขอน้ำมนต์และวัตถุมงคลต่างๆ
กลับไปบูชาเพื่อความเป็นสิริมงคล
ท่านมรณภาพในปี
พ.ศ.2508
สิริอายุ 94
ปี พรรษาที่
72
หลวงพ่อจง
สร้าง
“เหรียญปั๊มรูปเหมือน
ปี 2485” นี้
เพื่อแจกแก่ข้าราชการและพลเรือนนำไปคุ้มครองป้องกันตนจากภัยสงคราม
เนื้อหามวลสาร
สร้างเป็นเนื้อทองแดง
พุทธลักษณะ
เหรียญปั๊มรูปเหมือนหลวงพ่อจง
ปี 2485 มี 2
แบบ คือ
พิมพ์นั่งปางมารวิชัย
และพิมพ์สมาธิ
ในที่นี้จะกล่าวถึง
“พิมพ์นั่งปางมารวิชัย”
ซึ่งเป็นพิมพ์นิยม
และยังแบ่งออกไปอีก
2 พิมพ์ คือ
พิมพ์หน้าใหญ่และพิมพ์หน้าเล็ก
“พิมพ์หน้าใหญ่”
เป็นเหรียญรูปทรงเสมา
หูในตัว
เนื้อทองแดง
ด้านหน้า
โดยรอบตกแต่งด้วยลวดลายกนก
ตรงกลางเป็นรูปเหมือนหลวงพ่อจงเต็มองค์
นั่งในท่าปางมารวิชัย
ไม่มีอาสนะรองรับ
มีอักขระขอม
5
ตัวรอบรูปเหมือน
ว่า “นะ โม
พุท ธา ยะ”
อันเป็นหัวใจพระพุทธเจ้าห้าพระองค์
ด้านหลัง
ตรงกลางเป็น
“ยันต์สี่ทิศสี่มุม”
ด้านบนเป็นอักษรไทยว่า
“ที่ระลึก”
ด้านล่างว่า
“หลวงพ่อจง
2485”
ส่วน
“พิมพ์หน้าเล็ก”
ด้านหน้าจะแตกต่างกันที่ลักษณะใบหน้าจะเรียวเล็กกว่า
ด้านหลังตัวเลขปี
พ.ศ.จะใหญ่กว่าและเรียงตามแนวตรง
ไม่โค้งเหมือนพิมพ์หน้าใหญ่
พุทธคุณ
@---------------------
ขอบคุณครับ
---------------------@
---------
เพื่อนๆท่านใดสนใจโทรติดต่อด่วนครับ
---------
---------------
พร บางระจัน
081-7842076
-----------------
|