Rian
Luang Pu Plian Inthasaro Coin, Wat Tai Temple, Year
BE2472 ”amulet
Thailand
Price:1,000,000.00 Baht
細節
“龍普昌像幣,第一代,公元2429年”,目前火爆,難求
“將阻止那個煩惱的發生它必須能夠控制存在於越來越多的世界中的誘惑的誘惑力。”素叻他尼府猜也區莫卡普拉蘭公園……
"Phra Wisutthirangsi" 或 "Luang Pu Plian
Inthasaro" 或 Luang Pho Wat Tai Wat Chai
Chumphon Chana Songkhram,北碧府 Mueang 區
Ban Tai
分區,特別是聖物為紀念67歲的功德而製作的“龍普昌錢幣,第一代,公元2429年”……
外觀為臂形硬幣,內耳,鋸邊,鍍銅和鍍金。硬幣正面中間是龍普騰的形象。講壇上的默想下面是創世年份,“2472
B.E.”圍繞著泰文的銘文說: “紀念在Phra Wisutthirangsi
週年紀念日立功Wat Chai Chumphon Karnburi
硬幣背面光滑。它系成一個菱形的符,4個方格的形狀,每盒內含四聖諦心字1字,有2塊,即直符塊。並阻擋偏轉符總產量約為2000枚硬幣,目前價值如此之高。好難找租來拜……
Luang Phor Plaeng, Wat
Tai, Kanchanaburi 的歷史和聖物,一位被古代人暱稱為“若為虎,必測太”
普林神父 (Inthasaro)、Wat Tai 或 Phra Wisutthirangsi
Wat Chai Chumphon Chana Songkhram 住持北碧府或俗稱Luang
Pho Wat Tai 或 Luang Pu Wat Tai他被認為是北碧府的 Thera
僧侶和古魯僧侶。從你手中經過的各種聖物它被列為全國人民追捧的神奇物品。直到有句話說“如果美元必須高於如果是Ai
Suea,那一定是Wat Tai”,這清楚地表明了Luang Por的美妙品質。
張神父出生於狗年的第 5 個月星期六,對應於 1862 年 4 月 5 日,出生在北碧府 Tha
Muang 區 Ban Muang Chum。原名 Thongkham,他是 Yom
的父親的兒子,名叫Muen Inraksa (Mr. Nim Poonsawas)
她母親的名字是 Jeeb Poolsawas 夫人。
小時候,父親變了。他出生在一個艱苦的日子,也就是古人所說的第五個星期六,所以他是一個戰士。他強壯,堅忍,胸懷寬廣,他是個歹徒,把他打得滿地都是。年輕的時候並且他本人就是一個流氓。於是,越來越多的宗族紛紛效仿。直到它成為父母的極大關注
爸爸和媽媽他擔心很難再進一步。如果繼續這樣父親的父親做出了決定。帶上 Luang Pho
Chang 離開它去 Wat Tai 或 Wat Chai Chumphon Chana
Songkhram 學習。作為當時北碧府方丈和靈長類動物 Phrakhru
Wisutthirangsi (Chang) 的弟子離開
來到寺廟不久變成了一個更謹慎的人比一個不同的人更冷酷、更強壯、更謙虛和好客。贖罪的父親因此將他的名字改為“改變”。
1883年,張神父正值出家年齡,他的父親帶他到Phatthasima、Wat Tai或Wat
Chai Chumphon Chana Samkram出家。獲得“Inthasaro”的綽號,因為導師看到Luang
Por變成了一個非常強大的命運。因為他出生在第五個星期六如果暱稱是周六人我怕它太強了。因此給了綽號作為星期天的人,而不是
Phrakhru Wisutthirangsi(大象),Wat Tai,是一位導師
Thung Samo 寺的Phra Achan Rod 是一名僧人。
竹皮寺 Phra Achanakorn 是一座紀念碑
在 Luang Por Plein Inthasaro
受戒之後,他學習了高棉語和泰語書籍。原本他打算只受戒七日,但後來憑著功德,加進了自己的決心。張神父因此,他打算學習和繼續宗教,直到他生命的盡頭。
自從Luang Por
Chang開始出家嚴守法門無論你學習什麼課程,你都會在任何事情上取得成功。以堅定的心,說真話,做真話,不放棄任何障礙,導師龍波昌因此將其作為至高無上的證書。一直協助佛法事業
瑯勃昌他是一位大智慧的和尚。它受到菅直人和附近城市的人們的尊敬。在成為菅直人之前他們在Ratchaburi的Wat
Khanon Nuea和Wat Nuea的Luang Pho Klin展示了他們製作聖水的技巧。這兩座寺廟的聖水沒有溢出或流動。這是一次重要的檢查。因為本來,北碧府僧伽的治理要依靠叻丕府市。
當名聲傳到那個時期統治堪的僧團的 Wat Khanon 的 Phrakhru
Thammasenani(好)時, Kanchanaburi 目前有兩位大師,Wat Tai 和
Wat Nuea。認為能夠自我管理是合適的因此被召集到觀音寺進行測試可見,他的確是當著城主和很多人的面傳聞的高手。因此,他收到了一個沒有灑聖水的布施碗作為對每個孩子的獎勵,留作紀念。官方任命了
Luang Pho Chang。飾演 Phrakhru Wisutthirangsi是北碧府的靈長類動物並讓
Wat Nuea 的 Luang Por Klin 飾演 Phra Singha
Kiburakhanachan,北碧府的副靈長類動物。但從那時起,北碧府僧伽就不再需要依賴於叻丕府市了。
後來,龍波章圓寂了。 Wat
Tai方丈的位置因此空缺。官方任命了最高證書來改變方丈是否成功並被提升為帕拉赫魯威蘇蒂朗湖當
Luang Por 變成 Samphan
時發展這座寺廟,直到它在教育和宗教上都非常美麗另一方面,兒子的兒子們進步了。通過建立省立學校是
Wisuttarangsee
學校一直榮耀到現在。後來他被提升為北碧府的靈長類動物用你的善良整個堪城,無論神殿需要什麼,龍波都會全力協助。
至於迷信,龍波的魔法。每個人都知道他們真的很好。在拉瑪五世-拉瑪六世國王統治時期的曼谷,如果有一個迷信儀式,根本就沒有
Luang Pho Wat Tai Mueang Kan看起來,Luang Por從曼谷收到的粉絲和包包,例如拉瑪六世國王的葬禮,Chakri
150週年慶典等。
後來,1917
年,拉瑪六世國王陛下拉瑪六世和崇迪帕瑪哈沙瑪那昭克羅姆帕亞哇集拉延瓦洛洛授予龍波章主教頭銜。
Wat Bowonniwet Vihara在 Luang Pho 名字的末尾添加一條項鍊"Phra
Wisutthirangsi Chinnasanasophi Sanghapamok"
另外,龍波變了。羅摩五世訪問堪府時也受到拉瑪五世的稱讚,帶了20名僧人到帳幕迎接他,說他善念誦經,念誦清晰,文風悠揚,散焦,能打斷傳說。
Luang Phor
Chang因此收到了許多皇室禮物作為拉瑪六世的最愛。非常強大直到座右銘“降壓必須在上面衡量。作為老虎,你必須測量泰”。Wat
Nuea的意思是那時的Phrakhru Adulayasomanakit(好),後來被提升為Phra
Thepmongkolrangsi北碧府院長接替 Luang Pho Chang
普林神父 (Inthasaro)、Wat Tai 或 Phra Wisutthirangsi
Wat Chai Chumphon Chana Songkhram
張神父你喜歡內省的方式。一直練到成名哪個寺廟會有供奉護身符的儀式要建造佛像,您必須邀請
Luang Pho Chang
加入字符盤。或者,如果您有空,您將始終可以參加儀式。眾所周知菅直人著名的盜賊如蘇埃塞、蘇埃帽、蘇埃卡奧、蘇埃諾姆,以及老一輩的阿贊布阿和阿強邦,都非常尊敬和崇敬。此外,還有許多其他的修士前來當弟子。向您學習如下所列的科目
Phrathepmongkolrangsi (D) Wat Thewasangkaram (Wat
Nuea),北碧府
Phra Thepsangworawimon (Jiang) Charoen Sukharam
Temple, Bang Khanthi, Samut Songkhram Province
Phrakhru Thammavithi Sathit (To) Wat Khu Tham
Sathit, 夜功府
Phra Kru Yan Sakhon (Chang) Wat Pak Ao Bang
Tabun, Bang Tabun 分區, Ban Laem District,
Phetchaburi Province
Phra Kanchanawat Wiboon (Son), Lat Ya Temple,
Kanchanaburi Province
北碧府 Chai Chumphon Chana Songkhram 寺的 Phrakhru
Wattsarasophon (Khan)
Phrakru Worawat Wiboon Wat Wai Niew, 北碧府
Phra Kru Yatiwat Wiboon (Phrot), Sri Loha Rat
Temple, etc, Kanchanaburi Province
Phra Kru Sukworakhun (Tuan), Nong Phang Thru
Temple, etc., Tha Muang District, Kanchanaburi
Province
Phra Kru Chanthasaropat(中午)Wat Muang Chum, Tha
Muang District, Kanchanaburi Province
Phra Wisutthirangsi(Pleng Inthasaro)一直到他85歲,從1946年7月開始患上了老年病,現代和傳統的醫療隊都試圖治療,但症狀仍然存在,國王陛下相繼倒下。並在平靜的狀態下死去1947
年 4 月 4 日星期五 09 時 25 分,他享年 85 歲和 64 歲,1947
年底舉行了葬禮,這是堪城有史以來的一件大事。雖然龍普昌早逝但他的榮譽直到今天仍然可見。
Luang Phor Plein 護身符,Wat Tai
早些年,神父變了。創造了一個神聖的物體,它是糖果打固它由銀和銅製成。擁有強大的力量和大慈大悲有些人用紙風箏製作枕頭人物。鍍金的愛子使用憐憫和誤導。為了以後分給弟子,他做了一個臂形的錢幣來分。
變身神父護身符,Wat Tai,初版
建於1929年,當時隆波昌67歲,他創造了一枚硬幣分發給大眾。根據硬幣的性質,它是一種臂形或盾形硬幣。銅製未指定內部版本號。可以分為兩種:直接的
yantra 打印並打印出偏差符
รายละเอียด
"เหรียญรูปเหมือนหลวงปู่เปลี่ยน รุ่นแรก ปี 2472"
ปัจจุบันนิยมสูง หาบูชายาก
“จะป้องกันการเกิดแห่งกิเลสนั้น
มันต้องสามารถบังคับอำนาจความยั่วยวนของสิ่งยั่วยวนที่มีอยู่ในโลกซึ่งยิ่งขึ้นทุกที”
สารธรรมมงคล ท่านพุทธทาสภิกขุ สวนโมกขพลาราม อ.ไชยา
จ.สุราษฎร์ธานี……
“พระวิสุทธิรังสี” หรือ “หลวงปู่เปลี่ยน อินทสโร”
หรือ หลวงพ่อวัดใต้ วัดไชยชุมพลชนะ สงคราม ต.บ้านใต้
อ.เมือง จ.กาญจนบุรี ปัจจุบันวัตถุมงคลโดยเฉพาะ “เหรียญรูปเหมือนหลวงปู่เปลี่ยน
รุ่นแรก ปี 2472”
สร้างเป็นที่ระลึกในการทำบุญอายุครบ 67 ปี……
ลักษณะเป็นเหรียญปั๊มรูปอาร์ม หูในตัว ขอบเลื่อย
เนื้อทองแดงกะไหล่ทอง ด้านหน้าเหรียญ
ตรงกลางเป็นรูปเหมือนหลวงปู่เต็มองค์
นั่งสมาธิบนธรรมาสน์ ด้านล่างระบุปีที่สร้าง
“พ.ศ.๒๔๗๒” โดยรอบจารึกอักษรไทยว่า “ที่ระลึกในการทำบุญอายุครบปีพระวิสุทธิรังษี
วัดไชยชุมพรการบุรี”
ด้านหลังเหรียญพื้นเรียบ
ผูกเป็นยันต์รูปสี่เหลี่ยมข้าวหลามตัด จำนวน 4
ช่อง แต่ละช่องบรรจุอักขระหัวใจพระอริยสัจสี่ 1
ตัว มีด้วยกัน 2 บล็อก คือ บล็อกยันต์ตรง
และบล็อกยันต์เบี่ยง จำนวนจัดสร้างทั้งหมดประมาณ
2,000 เหรียญ ปัจจุบันค่านิยมสูงลิ่ว
หาเช่าบูชายาก……
ประวัติและวัตถุมงคลหลวงพ่อเปลี่ยน วัดใต้
กาญจนบุรี พระเกจิที่คนโบราณให้ฉายาว่า "ถ้าเป็นอ้ายเสือต้องวัดใต้"
หลวงพ่อเปลี่ยน (อินทสโร) วัดใต้ หรือ
พระวิสุทธิรังษี เจ้าอาวาสวัดไชยชุมพลชนะสงคราม
จังหวัดกาญจนบุรี
หรือเป็นที่รู้จักกันโดยทั่วไปว่า หลวงพ่อวัดใต้
หรือ หลวงปู่วัดใต้
ท่านถือเป็นพระเถระและพระเกจิอาจารย์จอมขมังเวทย์ของเมืองกาญฯ
วัตถุมงคลทุกชนิดที่ผ่านมือท่าน
จัดเป็นของวิเศษที่แสวงหาของคนทั่วทั้งประเทศ
จนมีคำกล่าวที่ว่า "ถ้าเจ้าชู้ต้องวัดเหนือ
ถ้าเป็นอ้ายเสือต้องวัดใต้"
ซึ่งบ่งบอกถึงคุณวิเศษของหลวงพ่อได้เป็นอย่างดี
หลวงพ่อเปลี่ยน เกิดเมื่อวันเสาร์ เดือน ๕ ปีจอ
ซึ่งตรงกับวันที่ ๕ เมษายน พ.ศ. ๒๔๐๕
ที่บ้านม่วงชุม อำเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี
เดิมมีชื่อว่า ทองคำ เป็นบุตรของโยมบิดาชื่อ
หมื่นอินทร์รักษา (นายนิ่ม พูลสวัสดิ์)
โยมมารดาชื่อ นางจีบ พูลสวัสดิ์
เมื่อเยาว์วัยหลวงพ่อเปลี่ยน
ท่านเกิดในวันแข็งหรือที่คนโบราณนิยมเรียกกันว่า
วันเสาร์ห้า ท่านจึงมีนิสัยเป็นนักสู้
มีความเข้มแข็ง ทรหดอดทน จิตใจจึงกว้างขวาง
เป็นนักเลง ต่อยตีเขาไปทั่ว เมื่อเติบโตเป็นหนุ่ม
และด้วยความที่เป็นผู้ที่มีนิสัยนักเลงนั้นเอง
จึงมีสมัครพรรคพวกมาติดสอยห้อยตามมากขึ้นเรื่อยๆ
จนเป็นที่วิตกกังวลของโยมบิดา-มารดาเป็นอันมาก
โยมบิดาและโยมมารดา
คิดวิตกว่าต่อไปคงจะเอาดีได้ยาก
หากปล่อยให้เป็นเยี่ยงนี้ต่อไป
โยมบิดาจึงได้ตัดสินใจ
นำตัวหลวงพ่อเปลี่ยนไปฝากให้เรียนหนังสือที่วัดใต้
หรือ วัดไชยชุมพลชนะสงคราม
โดยฝากเป็นศิษย์ของท่านพระครูวิสุทธิรังษี(ช้าง)
เจ้าอาวาสและเจ้าคณะเมืองกาญจนบุรีในสมัยนั้น
หลังจากท่านมาอยู่วัดได้ไม่นาน
ก็เปลี่ยนเป็นคนสุขุมมากขึ้น เยือกเย็นขึ้น
หนักแน่นขึ้น
มีความสุภาพเรียบร้อยและมีความโอบอ้อมอารีผิดไปเป็นคนละคน
โยมบิดาเลยเปลี่ยนชื่อให้ใหม่ ว่า "เปลี่ยน"
นับตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา
ปี พ.ศ. ๒๔๒๖ หลวงพ่อเปลี่ยน มีอายุครบบวช
โยมบิดาจึงนำไปอุปสมบท ณ พัทธสีมาวัดใต้ หรือ
วัดไชยชุมพลชนะสมคราม ได้รับฉายาว่า "อินทสโร"
เพราะพระอุปัชฌาย์เห็นว่าหลวงพ่อเปลี่ยนเป็นคนชะตากล้าแข็งมาก
เพราะเกิดในวันเสาร์ห้า
ถ้าจะให้ฉายาเป็นคนวันเสาร์
ก็เกรงว่าจะกล้าแข็งมากเกินไป
จึงให้ฉายาเป็นคนวันอาทิตย์แทน โดยมี
พระครูวิสุทธิรังษี(ช้าง) วัดใต้ เป็นพระอุปัชฌาย์
พระอธิการรอด วัดทุ่งสมอ เป็นพระกรรมวาจาจารย์
พระอธิการกรณ์ วัดชุกพี้ เป็นพระอนุสาวณาจารย์
หลังอุปสมบทหลวงพ่อเปลี่ยน อินทสโร
ก็ได้เล่าเรียนทั้งหนังสือขอมและหนังสือไทย
เดิมท่านตั้งใจว่าจะบวชเพียง ๗ วัน
แต่แล้วด้วยบุญกุศลก็เสริมให้เกิดความปักใจแน่วแน่
หลวงพ่อเปลี่ยน
จึงตั้งใจศึกษาและสืบพระศาสนาตราบจนสิ้นอายุขัย
นับตั้งแต่หลวงพ่อเปลี่ยนได้เริ่มบวชเรียน
ได้ปฏิบัติพระธรรมวินัยอย่างเคร่งครัด
จะร่ำเรียนวิชาไหนก็สำเร็จทุกอย่าง
ด้วยใจที่เด็ดเดี่ยว พูดจริง ทำจริง
และไม่ย่อท้อต่ออุปสรรคใดๆ หลวงพ่อช้าง
พระอุปัชฌาย์จึงตั้งให้เป็นพระใบฎีกา
เพื่อให้ช่วยในงานด้านพระพุทธศานาตลอดมา
หลวงพ่อช้างองค์นี้
เป็นพระที่มีวิทยาอาคมแก่กล้ามาก
เป็นที่เคารพนับถือของคนทั่วทั้งเมืองกาญจน์และเมืองใกล้เคียง
ก่อนจะได้เป็นเจ้าคณะเมืองกาญจน์
ได้แสดงฝีมือในทางทำน้ำมนต์ศักดิ์สิทธิ์ที่วัดขนอนเหนือ
เมืองราชบุรี พร้อมกับหลวงพ่อกลิ่น วัดเหนือ
น้ำมนต์ของสองวัดนี้ ทำแล้วไม่หก ไม่ไหล
เป็นการสอบไล่ครั้งสำคัญ
เพราะแต่เดิมการปกครองคณะสงฆ์เมืองกาญจน์ต้องขึ้นกับเมืองราชบุรี
เมื่อชื่อเสียงร่ำลือไปถึงท่านพระครูธรรมเสนานี(ดี)
วัดขนอน
ซึ่งปกครองคณะสงฆ์เมืองกาญจน์ในสมัยนั้นว่า
ขณะนี้ที่เมืองกาญจนบุรีมีอาจารย์แก่กล้า ๒ องค์
คือวัดใต้และวัดเหนือ เห็นสมควรจะปกครองตนเองได้
จึงได้เรียกมาทดสอบที่วัดขนอน
ซึ่งเป็นที่ประจักษ์ว่าเก่งกล้าจริงตามที่ร่ำลือต่อหน้าเจ้าบ้านเจ้าเมืองและประชาชนเป็นอันมาก
จึงได้รับบาตรที่ทำน้ำมนต์ไม่หกมาเป็นรางวัลคนละลูกเก็บรักษาไว้เป็นอนุสรณ์
และทางการก็ได้แต่งตั้งหลวงพ่อช้าง
ขึ้นเป็นพระครูวิสุทธิรังษี
เป็นเจ้าคณะเมืองกาญจนบุรี และให้หลวงพ่อกลิ่น
วัดเหนือ
เป็นพระสิงคิบุรคณาจารย์รองเจ้าคณะเมืองกาญจนบุรี
แต่นั้นมาการคณะสงฆ์เมืองกาญจน์ก็ไม่ต้องไปขึ้นกับเมืองราชบุรีอีกต่อไป
ต่อมาหลวงพ่อช้างได้มรณภาพลง
ตำแหน่งเจ้าอาวาสวัดใต้ จึงว่างลง
ทางการก็ได้แต่งตั้งให้พระใบฎีกาเปลี่ยน
เป็นเจ้าอาวาสสืบแทนและได้เลื่อนสมณศักดิ์เป็น
พระครูวิสุทธิรังษี
เมื่อหลวงพ่อเปลี่ยนได้เป็นสมภาร
ก็พัฒนาวัดจนสวยงามยิ่งนักทั้งทางการศึกษาและฝ่ายธรรม
ฝ่ายกุลบุตรก็เจริญก้าวหน้า
โดยได้จัดตั้งโรงเรียนประจำจังหวัด
คือโรงเรียนวิสุทธรังษี
เป็นที่เชิดชูอยู่จนกระทั่งบัดนี้
และต่อมาท่านก็ได้เลื่อนเป็นเจ้าคณะจังหวัดกาญจนบุรี
ด้วยความดีงามของท่าน
ทั่วทั้งเมืองกาญจน์ไม่ว่าวัดไหนต้องการอะไรหลวงพ่อจะช่วยจนเต็มกำลัง
ส่วนเรื่องทางไสยศาสตร์เวทมนตร์ของหลวงพ่อ
ใครๆก็รู้กันทั่วว่าเก่งจริง ในกรุงเทพฯ สมัย ร.๕
- ร.๖ หากมีพิธีทางไสยศาสตร์แล้ว
จะขาดหลวงพ่อวัดใต้เมืองกาญจน์ไม่ได้เลย
ดังปรากฏพัดรองและย่ามที่หลวงพ่อได้รับไปจากกรุงเทพฯ
เช่น งานถวายพระเพลิง ร.๕ งานเสวยราชย์ ร.๖
งานฉลองครบ ๑๕๐ ปี พัดจักรี ฯลฯ
ต่อมาหลวงพ่อเปลี่ยนได้รับพระราชทานตั้งสมณศักดิ์เป็นพระราชาคณะ
เมื่อ พ.ศ. ๒๔๖๐
โดยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
รัชกาลที่ ๖
กับสมเด็จพระมหาสมณเจ้ากรมพระยาวชิรญาณวโรรส
วัดบวรนิเวศวิหารฯ
ให้เติมสร้อยต่อท้ายนามของหลวงพ่อว่า "พระวิสุทธิรังษี
ชินศาสนโสภี สังฆปาโมกข์"
นอกจากนี้หลวงพ่อเปลี่ยน ยังได้รับการชมเชยจาก ร.๕
ในคราวเสด็จประพาสเมืองกาญจน์โดยนำพระสงฆ์ ๒๐
รูปมาสวดมนต์รับเสด็จที่พลับพลาว่า สวดมนต์เก่ง
สวดได้ชัดเจน ตลอดจนการลีลา สังโยคน่าฟัง
และขัดตำนานได้ไพเราะ
หลวงพ่อเปลี่ยนจึงได้รับของพระราชทานหลายอย่างเป็นที่โปรดปรานของ
ร.๖ ลักษณะของหลวงพ่อเป็นมหาอำนาจ
มีความน่าเกรงขามยิ่งนัก จนถึงกับมีคำขวัญว่า "เจ้าชู้ต้องวัดเหนือ
เป็นอ้ายเสือต้องวัดใต้" วัดเหนือหมายถึง
พระครูอดุลยสมณกิจ(ดี)
ในสมัยนั้นซึ่งต่อมาได้เลื่อนเป็นพระเทพมงคลรังษี
เจ้าคณะจังหวัดกาญจนบุรีเพื่อสืบแทนหลวงพ่อเปลี่ยน
หลวงพ่อเปลี่ยน (อินทสโร) วัดใต้ หรือ
พระวิสุทธิรังษี วัดไชยชุมพลชนะสงคราม
หลวงพ่อเปลี่ยน ท่านชอบทางวิปัสสนาธุระ
และได้ฝึกฝนจนมีชื่อเสียงเป็นที่เลื่องลือไปทั่ว
วัดไหนจะมีพิธีปลุกเสกเครื่องรางของขลัง
สร้างพระพุทธรูปต้องมานิมนต์หลวงพ่อเปลี่ยนร่วมลงแผ่นอักขระ
หรือถ้าท่านว่างก็จะอาราธนามาร่วมพิธีด้วยเสมอ
เป็นที่รู้จักกันทั่วไป
ขุนโจรชื่อดังของเมืองกาญจน์เช่น เสือสาย เสือหัด
เสือแก้ว เสือหนอม และรุ่นเก่าคือ อาจารย์บัว
อาจารย์บาง ก็เคารพยำเกรงหลวงพ่อเปลี่ยนมาก
นอกจากนี้ยังมีพระเกจิอีกหลากหลายรูปที่มาฝากตัวเป็นศิษย์
เพื่อร่ำเรียนวิชาจากท่านดังรายชื่อต่อไปนี้
พระเทพมงคลรังษี (ดี) วัดเทวสังฆาราม (วัดเหนือ)
จ. กาญจนบุรี
พระเทพสังวรวิมล (เจียง) วัดเจริญสุขาราม บางคณฑี
จ. สมุทรสงคราม
พระครูธรรมวิถีสถิตย์ (โต) วัดคู้ธรรมสถิตย์ จ.
สมุทรสงคราม
พระครูญาณสาคร (แฉ่ง) วัดปากอ่าวบางตะบูน
ตำบลบางตะบูน อ. บ้านแหลม จ. เพชรบุรี
พระกาญจนวัตรวิบูลย์ (สอน) วัดลาดหญ้า จ.
กาญจนบุรี
พระครูวัตตสารโสภณ(ก้าน) วัดไชยชุมพลชนะสงคราม จ.
กาญจนบุรี
พระครูวรวัฒน์วิบูลย์ วัดหวายเหนียว จ. กาญจนบุรี
พระครูยติวัตรวิบูลย์ (พรต) วัดศรีโลหะราษฎร์ ฯลฯ
จ. กาญจนบุรี
พระครูสุขวรคุณ (ทวน) วัดหนองพังตรุ ฯลฯ อ.ท่าม่วง
จ. กาญจนบุรี
พระครูจันทสโรภาส (เที่ยง) วัดม่วงชุม อ.ท่าม่วง
จ. กาญจนบุรี
พระวิสุทธิรังษี (เปลี่ยน อินฺทสโร)
ได้เจริญอายุต่อมาจนย่างเข้า ๘๕ ปี
ก็ได้อาพาธด้วยโรคชราตั้งแต่เดือนกรกฎาคม พ.ศ.
๒๔๘๙
คณะแพทย์ทั้งแผนปัจจุบันและแผนโบราณพยายามรักษาแต่อาการก็มีทรงกับทรุดมาโดยลำดับ
และได้ถึงแก่การมรณภาพด้วยอาการอันสงบ
เมื่อวันศุกร์ที่ ๔ เมษายน พ.ศ. ๒๔๙๐ เวลา ๐๙.๒๕
นาฬิกา สิริอายุครบ ๘๕ ปีบริบูรณ์ ๖๔ พรรษา
และมีพิธีพระราชทานเพลิงศพในปลายปี พ.ศ. ๒๔๙๐
ซึ่งเป็นงานที่ใหญ่ยิ่งของเมืองกาญจน์เลยทีเดียว
แม้ว่าหลวงปู่เปลี่ยนจะล่วงลับไปนานแล้ว
ทว่าเกียรติคุณของท่านยังปรากฏโด่งดังอยู่จนทุกวันนี้.
วัตถุมงคลของหลวงพ่อเปลี่ยน วัดใต้
ในยุคแรกๆ หลวงพ่อเปลี่ยน
ได้จัดสร้างวัตถุมงคลที่เป็นตะกรุดลูกอม
โดยทำมาจากเงินและทองแดง มีฤทธิ์ทางด้านมหาอุด
และเมตตามหานิยม
บ้างก็ใช้กระดาษว่าวลงอักขระม้วนถักแบบหมอน
ทารักปิดทองใช้ทางเมตตาและแคล้วคลาด
เพื่อแจกจ่ายให้แก่ลูกศิษย์ลูกหาจนต่อมาจึงได้ทำเหรียญรูปอาร์มขึ้นแจก
เหรียญรูปอาร์มหลวงพ่อเปลี่ยน วัดใต้ รุ่นแรก
สร้างขึ้นในปี พ.ศ. ๒๔๗๒ ตอนนั้นหลวงพ่อเปลี่ยน
มีอายุได้ ๖๗ ปี
ท่านได้สร้างเหรียญขึ้นเพื่อแจกจ่ายให้กับประชาชนทั่วไป
โดยลักษณะเหรียญเป็นเหรียญรูปอาร์มหรือโล่
สร้างด้วยเนื้อทองแดง จำนวนการสร้างไม่ได้ระบุไว้
สามารถแบ่งออกได้เป็น ๒ พิมพ์ด้วยกันคือ
พิมพ์ยันต์ตรง และพิมพ์ยันต์เบี่ยง
|