Rian Luang Phor Pring , Bang Pakok Temple,
year BE 2483
Wat Bang Pakok, Thonburi Province
Name of the image of Buddha: |
COLLECTION A COINLuang Phor Pring , Mettarai
Sara Buri BE 2483 |
Supporter of casting: |
Luang Phor Pring |
Location of Casting or
Finding: |
Wat Bang Pakok, Thonburi Province
|
Year of Casting: |
B.E
(2483) |
Praise of the image of
Buddha: |
Harmproof and
invulnerability |
Product : 000284
Price :500,000.00
baht
Luang Phor Pring、Bang Pakok Temple 或 "Phra Kru Wisutthilajarn"
是另一位老式的老師,擁有許多不同層次的學生,包括“你的皇室Krom Luang Chumphon
Khet Udomsak”,去自稱是他的弟子 Luang Por Pring,他將 Nang Otter
額骨交給了部門。令人毛骨悚然,以至於提到了兒子和女兒哪有殿下說的不用怕,Nang Nak的恭敬又出現了兩次。
在 Nang Loeng 宮
Nang Nak 額骨的故事出現在 ML Phra Maha Sawang Seniwong Na
Ayudhya 於 1930 年編寫的 Somdej Phra Buddhachan (Toh
Phromrangsi) 的著作中,描述了 Naga 夫人橫衝直撞之後。 Somdej Phra
Buddhachan 知道了這一點,因此下到Wat Mahabut 並叫Nang Nak
說話。最後,他刺穿她的額骨加入了護身符,並在她的腰上做了一個雕塑。鬼納迦再也沒有出來橫衝直撞。
在這件事上,Sombat Plai Noi 是另一個研究和撰寫 Mae Nak 的人。那迦額骨Somdej
Phra Buddhachan (To) 已給予Somdej Somdej Phra
Buddhachan (that) 並把它交給 Luang Por Pring (Phra Kru
Wisut Silajarn),直到他到達 Krom Luang Chumphon Khet
Udomsak。沒過多久,美娜就來告辭了。在那之後,再沒有人發現美娜的額骨。所以,可以說在那個時代,他的名氣,不亞於同一個時代的任何教職人員。因為如果那個時代的政府機構有一個重要的儀式,那麼“Luang
Por Pring”就必須是另一個被邀請參加每個儀式的老師。他的名聲遠播。
歷史上,Luang Por Pring 原名“Pring Iamthet”,他出生於 1869
年,是邦巴谷人。拉特布拉納區通過出家出家開始學習“Wat Ratchasittharam (Wat
Phlap)”直到他 20 歲,他才被出家出家。 “Wat Thong
Noppakhun”,Khlong San 區,然後去Bang Pakok
寺度過佛教大齋期,直到他被任命為住持統治Bang Pakok 寺直到他去世。
รายละเอียด:“ เหรียญปั๊มหลวงพ่อพริ้ง วัดบางปะกอก ธนบุรี
พ.ศ.2461 "
พระครูวิสุทธิ์ศีลาจารย์ หรือ หลวงพ่อพริ้ง วัดบางปะกอก ธนบุรี หนึ่งในพระเกจิผู้ทรงพุทธาคมเป็นเลิศ มีชื่อเสียงโด่งดังในยุค “สงครามอินโดจีนและสงครามโลกครั้งที่ 2” และไม่ว่าพิธีพุทธาภิเษกใดๆ จะมีชื่อของท่านร่วมด้วยเสมอ
พระครูวิสุทธิ์ศีลาจารย์ หรือ หลวงพ่อพริ้ง วัดบางปะกอก
หลวงพ่อพริ้ง เป็นชาว อ.คลองสานโดยกำเนิด เกิดเมื่อปี พ.ศ. 2413 (บางเล่มว่า 2412) ในวัยเด็กได้บรรพชาเป็นสามเณรที่วัดราชสิทธารามหรือวัดพลับ ศึกษาวิปัสนากรรมฐานขั้นต้นกับพระสังวรานุวงศ์ (เมฆ) เจ้าอาวาสองค์ที่ 10 และพระมงคลเทพมุนี (เอี่ยม) วัดราชสิทธาราม เมื่ออายุครบบวชจึงอุปสมบทเป็นพระภิกษุ ณ วัดทองนพคุณ อ.คลองสาน ท่านมีความตั้งใจศึกษาร่ำเรียนทั้งด้านคันถธุระ วิปัสสนาธุระ และเคร่งครัดในพระธรรมวินัยจนเป็นที่กล่าวขาน ท่านชอบออกธุดงควัตรไปตามสถานที่ต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นป่าเขาลำเนาไพร เพื่อหาความวิเวกและฝึกวิปัสสนากรรมฐาน และยังได้ศึกษาวิทยาอาคมจากพระอาจารย์หลายสำนักจนเชี่ยวชาญแตกฉานทั้งด้านคงกระพันชาตรี แคล้วคลาด เมตตามหานิยม รวมถึงวิชาแพทย์แผนโบราณ กล่าวกันว่าท่านได้เคยศึกษาร่วมสำนักกับหลวงปู่ศุข วัดปากคลองมะขามเฒ่าอีกด้วย เมื่อตำแหน่งเจ้าอาวาสวัดบางปะกอกว่างลง จึงนิมนต์ท่านดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาส หลวงพ่อพริ้งปกครองและดูแลวัดบางปะกอกจนกระทั่งมรณภาพในปี พ.ศ.2490 สิริอายุได้ 78 ปี
หลวงพ่อพริ้งเป็นพระเกจิที่มีศีลาจารวัตรงดงาม มีเมตตาธรรมสูง และเรืองวิชาทางไสยศาสตร์เป็นเอก เมื่อครั้งสงครามโลกครั้งที่ 2 ผู้คนต่างพากันมาอาศัยหลบภัยที่วัดของหลวงพ่อเป็นจำนวนมากๆ โดยเฉพาะที่กุฏิจะแน่นไปด้วยผู้คน และหาได้มีผู้ใดเป็นอันตรายแต่อย่างใดไม่ ท่านยังชอบช่วยเหลือเกื้อกูลผู้ตกทุกข์โดยไม่แบ่งวรรณะ จึงเป็นที่รักเคารพของพุทธศาสนิกชนทั้งใกล้ไกล มีลูกศิษย์ลูกหามากมาย และเป็นหนึ่งในพระอาจารย์ของพระบรมวงศ์เธอ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ ที่ทรงเคารพศรัทธาถึงกับให้พระโอรสมาบวชเป็นสามเณรอยู่กับหลวงพ่อที่ วัดบางปะกอก ถึง 3 องค์ นอกจากนี้ ในงานพิธีพุทธาภิเษกวัตถุมงคลสำคัญๆ ในสมัยนั้น ท่านก็จะได้รับการนิมนต์ไปเข้าทำพิธีปลุกเสกด้วยทุกครั้ง แม้กระทั่งสมเด็จพระสังฆราช (แพ) แห่งวัดสุทัศนเทพวราราม ยังนิมนต์ท่านมาร่วมปลุกเสกในงานวัดสุทัศน์เป็นประจำ หลวงพ่อพริ้ง สร้างวัตถุมงคลมากมายหลายชนิด ทั้ง พระเครื่อง เหรียญ และเครื่องรางของขลัง อาทิ พระผงใบลาน, ลูกอมเนื้อผง, ตะกรุด, ผ้ายันต์ ฯลฯ เพื่อแจกจ่ายแก่ศิษยานุศิษย์และผู้มาขอ ซึ่งได้สร้างชื่อเสียงอย่างมากในคราวเกิดสงครามอินโดจีน จึงล้วนเป็นที่แสวงหาและนิยมสะสมสืบมาจนปัจจุบัน โดยเฉพาะ “เหรียญรูปเหมือน ปี 2483” ซึ่งนับเป็นเหรียญรูปเหมือนรุ่นแรกนั้นหาดูหาเช่ายากมาก
เจ้าคุณนรฯ วัดเทพศิรินทร์
พระภิกษุ ธมมวิตกโกภิกขุ มหาเสวกตรี พระยานรรัตนราชมานิต หรือที่ประชาชนโดยทั่วไปนิยมเรียกท่านสั้น ๆ ว่า เจ้าคุณนรฯ แห่งวัดเทพศิรินทราวาส พระอารามหลวงชั้นโทชนิดราชวรวิหาร แขวงวัดเทพศิรินทร์ เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพมหานคร
นามเดิมของท่านเจ้าคุณนรฯ คือ “ตรึก จินตยานนท์” เกิดวันเสาร์ขึ้น 15 ค่ำ เดือน 3 ปีระกา ตรงกับวันที่ 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2440 เวลาประมาณ 7 นาฬิกา ณ บ้านหลังวัดโสมมนัสวิหาร เลขที่ 92 ถนนพะเนียง อำเภอป้อมปราบศัตรูพ่าย จังหวัดพระนคร ข้างเวทีสนามมวยราชดำเนินในขณะนี้
โยมบิดาของท่าน ชื่อ พระยาราชภักดี (ตรอง จินตยานนท์) โยมมารดาชื่อ อุบาสิกานางนรราชภักดี (พุก จินยานนท์) มีพี่น้องร่วมบิดามารดาเดียวกัน 5 คน คือ
1. พระภิกษุ พระยานรรัตนราชมานิต (ตรึก จินตยานนท์)
2. ด.ญ.สมบุญ (เสียชีวิตตั้งแต่อายุ 7 ขวบ)
3. นางสรรพกิจโกศล (เลื่อน ปัทมสุนทร)
4. ด.ช. เสียชีวิตตั้งแต่ยังเยาว์มาก
ยังไม่ได้ตั้งชื่อ)
5. นายตริ จินตยานนท์ ข้าราชการ กระทรวงการคลัง
ท่านเจ้าคุณนรฯ สำเร็จวิชารัฐศาสตร์
เป็นรุ่นแรกของเมืองไทย เมื่อปี พ.ศ. 2475 ณ
โรงเรียนข้าราชการพลเรือนที่หอวัง
ซึ่งต่อมาเป็นจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ท่านเจ้าคุณรับราชการในราชสำนัก กระทรวงวัง
ในตำแหน่งมหาดเล็ก
คอยรับใช้ใกล้ชิดพระยุคลบาทรัชการที่ 6
หน้าที่ที่ทำในครั้งแรกคือเชิญเครื่องโต๊ะเสวย
ต่อมาในหลวงทรงโปรดเกล้าฯ
ให้ย้ายเข้าไปทำงานในห้องบรรทม
มีหน้าที่ถวายงานนวดเวลาในหลวงบรรทม
ด้วยประการนี้ ท่านเจ้าคุณนรฯ
จึงพยายามเรียนรู้ถึงเส้นเอ็นต่าง ๆในร่างกายของมนุษย์
แล้วนำความรู้เข้าเฝ้าถวายการนวดเฟ้นล้นเกล้าฯ
จนเป็นที่พอพระราชหฤทัยและโปรดรานได้รับพระมหากรุณาธิคุณเป็นพิเศษ
ได้รับบรรดาศักดิ์ตามลำดับชั้นถึงเป็น
พระยานรรัตนราชมานิต ชั้นพระยาพานทอง
ท่านเจ้าคุณนรฯ
รับราชการสนองพระเดชพระคุณใกล้ชิดพระยุคลบาทตลอดมา
จนกระทั่งล้นเกล้า เสด็จสวรรคต เมื่อปี พ.ศ. 2468
หลังจากที่ล้นเกล้าฯ เสด็จสวรรคตทำให้เจ้าคุณนรฯ
เศร้าโศกแทบจะบ้า ทางผู้ใหญ่เล็งเห็นว่า
หากจัดการให้ท่านมีครอบครัวคงจะคลายความเศร้าโศกลงได้บ้าง
จึงจัดการหมั้นกับคุณครูบุญชู เมนะเศวต
แต่ยังไม่ทันได้กำหนดวันแต่งงานเป็นที่แน่นอน
ทางเจ้าคุณนรฯ ก็ขอประวิงเวลา
ว่าจะขอบวชถวายเป็นพระราชกุศลก่อน
ครั้นบวชเข้าจริง ๆ การณ์ก็มิได้เป็นอย่างคิด
ท่านไม่มีกำหนดที่จะสึก จากหนึ่งพรรษาเป็นสองพรรษา….สาม…..สี่…..ห้า
จวบจนกระทั่งมรณภาพ เมื่อวันศุกร์ที่ 8 มกราคม พ.ศ.
2514
บวชไม่ยอมสึกเป็นเวลาประมาณถึง 46 พรรษา
|