TRAVEL TOOLS

 

id7500003000070


 


 

พระเครื่องพระนางพญา วัดนางพญา เป็นพระเนื้อดินเผา 南拍雅佛像 彭世洛府 “拍南拍雅-慈悲佛佛像”Phra Nang Phaya

พระเครื่องพระนางพญา วัดนางพญา เป็นพระเนื้อดินเผา 南拍雅佛像 彭世洛府 “拍南拍雅-慈悲佛佛像”Phra Nang Phaya

พระเครื่องพระนางพญา วัดนางพญา เป็นพระเนื้อดินเผา 南拍雅佛像 彭世洛府 “拍南拍雅-慈悲佛佛像”Phra Nang Phaya

 

Phra Nang Phaya

Product : 000317

Price  : ราคา 5,000,000.00 บ.

whats app:0933361995

Detail:
Phra Nang Phaya, Wat Phra Nang Phaya, Phitsanulok. Her Royal Highness Princess Maha Chakri Sirindhorn It is said and wanted of many collectors. It is said that all aspects of the gurus. Mercifully Invulnerable In the dress of the party. In the form of a triangle. Phra Nang Phaya Phra Nang Phaya , Phra Nang Phaya Phra Nang Phaya Phra Nang Phaya Phra Nang Phaya Phra Nang Phaya It is expected that there will be less than other prints, so it is not often seen here. And this is an amulet that is about the size of a knee print knee and knee straight. History of the goddess Phra Somdej Phra Phitsanulok Legend of the Queen First of all it will talk about the temple before. Wat Nang Phaya is an ancient temple. Since the Ayutthaya times. This temple is located next to Wat Phra Sri Rattana Mahathat. And the temple. Wat Nang Phaya and Wat Ratburana have the same territory. But enough to build the bridge King Naresuan and cut through the road. Then separated the temple and Wat Ratchaburana on each side of the street. Wat Nang Phaya is a small territory only to be named "Wat Nang Phaya" the name of the goddess may come from the place where it was discovered. Wat Nang Phaya, this assumption. The Creator of the Queen Phra Wisith Sutthisan The Queen's Consort He is the mother of King Naresuan. He created a royal princess in the restoration of Wat Ratchaburana around 2090 - 2100. Phitsanulok is the capital city. He is the mother of two tribes. And the monarch is the royal patron of the land of the Emperor. Ayutthaya Phra Nang Phaya was influenced by Buddhist art from the royal line of Sukhothai. The cities of Phitsanulok and Sukhothai are very close to each other since the Ayutthaya Dynasty. Great in Northern Territory Print of the queen It is very different compared to the Sukhothai art. The proportions of the art can be said that. The creation of the Queen is a continuation of the Sukhothai art in the amulet. Clear no distortion History of Phra Nang Phaya Phra Nang Phaya is a Buddhist low relief in the shape of a triangle. Seat sitting satanic No asana or supporting base The waist is soft and elegant in the waist. Amulets of the Queen of theamulets. It is in the year 2444 King Rama V. He traveled to Phitsanulok. To see the casting of the Buddha. And he went to the temple with her. It is assumed that the temple of Nang Phaya will continue to improve the dwelling place to prepare for the King and create a pavilion that is solemnly found amulet of goddesses and selected his beautiful offerings. And the big royal family. And to distribute the courtiers. From the recording of the story told by the teacher Khwan Wat Rakang that he was told by a senior official. Which is titled Royal. But you can not remember the name. Luang has told him that. Phra Nang Phaya came from Phitsanulok 2-3 in the time of His Majesty the King at that time. Wat Phra Kaew (Wat Phra Sri Ratana Mahathat) Phra Nang Phaya is a mixture of soil and pollen. Appearance of sand mixed gravel blend. The Buddha is finished, so it is burned most of the meat is mixed with little or no. The meat is so rough. Tough and hard The texture is very fine. The meat is soft and beautiful. I have seen less. I know the classification is as follows. Phra Nang Phaya, Wat Nangphaya, Phitsanulok . 1. Phra Nang Phaya Type knee arch. Hold a print of one print. 2. Phra Nang Phaya typhoid is considered a large print. The knee is split into two types, the knee is straight and the knee is the same. 3. Phra Nang Phaya Hold on 4. His Majesty King Small chest Small print 5. Phra Nang Phaya Prasat Sakran is considered as the middle. 6. Phra Nang Phaya naked fluff or print the angel is small print. 7. Phra Nang Phaya special printed, such as typing knee or special print. Phra Nang Phaya Phra Nang Phaya Temple all printed. A saturated seat. 3 types of prints, the main type can be divided into 3 types, type is print knee bend, print the knee straight and print a large chest. The prints are printed in small prints, divided into 2 sub-prints, namely, printed envelopes (angels) and printed envelopes. Amulet In the popular version of the most popular Phra Nang Phaya, the most popular type of print is seen in the knee print. The most popular type is the Queen Printed Knee straight. The print is about the size of the knee. King of the cursed knees. And Buddhism is very similar. There is a difference. The knee and the knee print straight knee. It is quite straight, not curved downward, curved knee type. The general characteristics of typhoons print the knee directly to blame are as follows. The price of Phra Nang Phaya Phitsanulok nowadays is that the price of exchange is very high, the price is so great that millions of Phra Nang Phaya. The texture of the meat is the same. But it's not the same. The price of amulets The king of the queen is at the heart of the million. The price of amulets The buyer and the seller. The merit of the great merit. And good luck. It is one of the five of the Benjamin. Later, the Queen has been excavated several times. And many dungeons, such as in the year 2487, it was excavated again at Nang Phaya.And also met the queen at Wat Ratchaburana as well. Also found at Wat Indaram, Wat Bench (Rajburana) Bangkok met Wang Palace at the fortune. At the Sangkasan temple in the side of the capital, and in 1989 also met again at Wat Ratchaburana. Phitsanulok, Thailand Phra Nang Phaya Phitsanulok There are several types as mentioned above. Home queen Knee knee knee straight knee knee Printed in a large embossed print, the angels, or the ancients called the fake print. And a small chest. Today I brought the queen of the large chest. The queen
 


พระเครื่องพระนางพญา

รหัสสินค้า: 000317

ราคา:5,000,000.00 บ.

รายละเอียด:

ดนางพญา จ.พิษณุโลก ตั้งอยู่ในบริเวณเดียวกันกับวัดพระศรีรัตนมหาธาตุ หรือ ‘วัดใหญ่’ และ วัดราชบูรณะ เป็นแหล่งค้นพบพระเครื่องพิมพ์สำคัญ “พระนางพญา” 1 ในพระชุดเบญจภาคีที่เลิศเลอค่า ถึงแม้จะเป็นวัดเก่าแก่ที่มีขนาดไม่ใหญ่นัก แต่เมื่อทราบประวัติความเป็นมาแล้ว ก็นับเป็นหนึ่งวัดสำคัญในประวัติศาสตร์เลยทีเดียว เพราะ ......

นาม “วัดนางพญา” นั้น สันนิษฐานว่าน่าจะมาจากชื่อของ พระวิสุทธิกษัตริย์ตรี พระอัครชายาของพระมหาธรรมราชา และพระราชมารดาของพระสุพรรณกัลยา, สมเด็จพระนเรศวรมหาราช และสมเด็จพระเอกาทศรถ ซึ่งปรากฏหลักฐานว่าทรงสถาปนาพระอารามแห่งนี้ ขณะดำรงพระอิสริยยศเป็นแม่เมืองสองแคว ในคราวบูรณปฏิสังขรณ์วัดราชบูรณะราวปี พ.ศ.2090 – 2100 และทรงสร้าง “พระนางพญา” บรรจุไว้ในองค์พระเจดีย์ตามคติความเชื่อแต่โบราณ กาลต่อมาวัดนี้ถูกทิ้งร้างเป็นเวลานานเนื่องจากศึกสงคราม กระทั่งเมื่อมีการขุดค้นพบ ‘พระนางพญา’ วัดนางพญาจึงกลับมามีชื่อเสียงอีกครั้งหนึ่ง

วัดนางพญา จ.พิษณุโลก
 

วัดนางพญา จ.พิษณุโลก

มูลเหตุอีกประการหนึ่งคือ ถ้าพิจารณาจากพุทธลักษณะจะเห็นได้ว่า องค์พระแทบทุกพิมพ์จะมีความงดงามสง่า โดยจะเน้นบริเวณอกที่ตั้งนูนเด่นและลำแขนทอดอ่อนช้อยคล้ายกับ “อิสสตรี” จึงเรียกกันว่า “นางพญา” และได้รับสมญา “ราชินีแห่งพระเครื่อง” ซึ่งสนับสนุนข้อสันนิษฐานแรกได้เป็นอย่างดี

พระนางพญา มีการขุดพบครั้งแรกในปี พ.ศ.2444 โดยทางวัดดำริสร้างศาลาเล็กๆ ขึ้นบริเวณด้านหน้าของวัด  เพื่อเป็นปะรำพิธีในการรับเสด็จพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อครั้งเสด็จประพาสเมืองพิษณุโลก เพื่อทอดพระเนตรการหล่อพระพุทธชินราชจำลอง ครั้นพอขุดหลุมจะลงเสาก็ได้พบ ‘พระนางพญา’ จำนวนมหาศาลฝังจมดินอยู่กับซากปรักหักพัง จึงได้เก็บรวบรวมไว้ และเมื่อล้นเกล้าฯ รัชกาลที่ 5 เสด็จฯ ไปวัดนางพญา ก็ได้นำพระนางพญาส่วนหนึ่งขึ้นทูลเกล้าฯ ถวาย ครานั้นพระองค์ทรงแจกจ่ายแก่ข้าราชบริพารที่ตามเสด็จกันโดยถ้วนหน้า ดังนั้น พระนางพญาส่วนหนึ่งจึงมีการนำกลับยังกรุงเทพมหานคร

 

ต่อมาในราวปี พ.ศ.2470 สมัย พระอธิการถนอม เป็นเจ้าอาวาส องค์พระเจดีย์ด้านตะวันออกของวัดได้พังลง ก็ปรากฏพบพระนางพญาอีกจำนวนหนึ่ง ดังบทความที่ “ท่านตรียัมปวาย” ได้เขียนไว้ในหนังสือ “ปริอรรถาธิบายแห่งพระเครื่องฯ เล่มที่ 2 เรื่อง นางพญาและพระเครื่องสำคัญ ว่า ‘... มีโอกาสได้พบผู้ใหญ่เลี่ยว ปาลิวณิช นักพระเครื่องอาวุโสของจังหวัดพิษณุโลก ท่านเล่าว่า “กรุพระนางพญา” เป็นพระเจดีย์ที่พังทลายฝังจมดินอยู่บริเวณด้านหน้าของวัด ตรงหน้ากุฏิท่านสมภารถนอม มีการขุดพบพระนางพญา ได้พระเป็นจำนวนมาก ในคราวนั้นปรากฏว่าชาวเมืองพิษณุโลกไม่ได้ให้ความสนใจ ดังนั้น พระนางพญาที่ถูกค้นพบจึงถูกเก็บไว้ที่วัดนางพญา และบางส่วนอาจถูกนำไปบรรจุกรุยังที่อื่นๆ อีกด้วย ...’

 

ตามประวัติความเป็นมาต่างๆ ของ “พระนางพญา วัดนางพญา” เป็นมูลเหตุสำคัญในการอ้างอิงถึงการพบพระนางพญาในกรุอื่นๆ ที่ จ.พิษณุโลก รวมทั้งกรุงเทพมหานคร ซึ่งมีการพบพระพิมพ์ที่มีเนื้อหาและพิมพ์ทรงแบบเดียวกันกับพระนางพญาจากกรุวัดนางพญาทุกประการในหลายๆ กรุ อาทิ วัดอินทรวิหาร และวัดเลียบ เป็นต้น สันนิษฐานว่าเป็นพระได้มาในคราวปี พ.ศ.2444 แล้วได้นำมาบรรจุตามกรุพระเจดีย์ต่างๆ ซึ่งจะมีจำนวนมากบ้างน้อยบ้าง และเมื่อผ่านกาลเวลา สภาพองค์พระก็จะแตกต่างกันไปตามสภาพกรุที่บรรจุ

 

ยังปรากฏหลักฐานจากบันทึกของ ‘ท่านตรียัมปวาย’ ว่ามีการพบพระพิมพ์นางพญากรุวัดนางพญาขึ้นที่กรุวัดอินทรวิหาร กรุงเทพมหานคร จากการสืบสาวเรื่องราวได้พบว่าเป็นนางพญาพิมพ์เดียวกับกรุวัดนางพญา จังหวัดพิษณุโลก พร้อมหลักฐานที่สอดคล้องกัน จากคำจารึกบนแผ่นลานเงิน ลานทอง และลานนาก มีความว่า ‘…พระพิมพ์ที่บรรจุอยู่ในกรุนี้ เป็นพระพิมพ์ที่เอามาจากวัดนางพญา จังหวัดพิษณุโลก ในปี พ.ศ.๒๔๔๔ ซึ่งเป็นปีที่พระบาทสมเด็จปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ รัชกาลที่ ๕ แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จประพาสจังหวัดพิษณุโลก เพื่อนมัสการพระพุทธชินราชและทอดพระเนตรการหล่อพระพุทธชินราชจำลอง ในวาระดิถีอันเป็นมหามงคลนี้ ได้มีราษฎรผู้จงรักภักดีต่อใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาท นำพระพิมพ์มาถวายแด่ล้นเกล้าล้นกระหม่อมเป็นอันมาก และเมื่อองค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ทรงรับไว้ ก็ได้พระราชทานจ่ายแจกแก่พระบรมวงศานุวงศ์และเจ้านายใหญ่น้อย ตลอดจนบรรดาข้าราชบริพารที่ตามเสด็จในครั้งนั้นโดยทั่วถึงกัน และเนื่องจากพระพิมพ์นี้มีจำนวนมาก ส่วนหนึ่งจึงได้มีผู้รวบรวมมาบรรจุไว้ในกรุพระเจีดย์นี้ ...’

 

พระนางพญา วัดนางพญา เป็นพระเนื้อดินเผา องค์พระจึงมีหลายสีและหลายขนาดตามลักษณะของพระเนื้อดินเผาทั่วไป พุทธศิลปะเป็นศิลปะผสมผสานระหว่างสุโขทัยและอยุธยา พิมพ์ทรงรูปสามเหลี่ยม มีการตัดขอบแม่พิมพ์ด้วยตอกชิดองค์พระ องค์พระประธานประทับนั่ง แสดงปางมารวิชัย พระเกศเมาลีมีลักษณะคล้ายปลีกล้วย พระหัตถ์ขวาพาดที่พระชานุ (หัวเข่า) พระหัตถ์ซ้ายวางตรงหน้าพระเพลา (หน้าตัก) ในลักษณะอ่อนช้อย ส่วนด้านหลังเป็นหลังเรียบ แต่ด้วยผ่านกาลเวลามาเนิ่นนาน จึงมีรอยเหี่ยวย่นจากการหดตัวของเนื้อมวลสาร โดยสามารถแบ่งแยกพิมพ์ได้ 6 พิมพ์ คือ พิมพ์เข่าโค้ง, พิมพ์เข่าตรง, พิมพ์อกนูนใหญ่, พิมพ์สังฆาฏิ, พิมพ์เทวดา และ พิมพ์อกนูนเล็ก   

@--------------------- ขอบคุณครับ ---------------------@ ---------

เพื่อนๆท่านใดสนใจโทรติดต่อด่วนครับ ---------

--------------- พร บางระจัน 081-7842076 -----------------

 

THAILAND AMULET CENTER |SING BURI OFFICE
19 หมู่ 4 ตำบลพักทัน อำเภอบางระจัน  จังหวัดสิงห์บุรี
 Tel: 66-081-7842076,66-093-3361995  whatapp:0933361995
Mobile : 66-093-3361995   e-mail:amuletcenter@hotmail.com
พระเครื่องเมืองสยาม| โดย พร บางระจัน:
236/2 หมู่ 5 ,ถนน เชียงใหม่ ลำพูน ,ตำบลยางเนิ้ง,อำเภิสารภี จังหวัดเชียงใหม่ 50140
Tel: 66-081-7842076,66-093-3361995  whatapp:0933361995
Mobile : 66-093-3361995   e-mail:amuletcenter@hotmail.com
Copyright © 2006 Thailand Amulet Center. Website Terms of Use   |   Privacy Statement Find us on Youtube Facebook