Luang Phor Sod,Paknam 寺,Phasi Charoen amulet
Thailand
BE 2501
Name of the image of Buddha: |
RIAN LUANG POR PAKNAM |
Supporter of casting: |
Luang Por
Sod |
Location of Casting or
Finding: |
Wat Pak Nam |
Year of Casting: |
(B.E. 2501) |
Praise of the image of
Buddha: |
merciful Trading prosperity |
Luang Phor Sod,Paknam
寺,Phasi Charoen,一位著名的上师僧人,受到所有佛教徒团体的尊敬和尊重。由于他杰出的佛经,他的圣物都具有收藏价值。其中之一是“第一个模型硬币,1957
年”是一种类似于 Luang Por Sod
的硬币,是首次创造。因此,它具有很高的收藏价值和追捧性。
创造者
Phramongkolthepmuni(Sod Candasaro),原名“Sod Mee
Kaew Noi”,出生于1884年10月10日,拉玛五世国王在位期间,位于素攀武里府松皮农县松皮农街道松皮农府。
. 年轻时跟随他的叔叔和尚学习在宋皮农寺后来,他在佛统府邦连县的邦普拉寺学习字母,并于 1906
年在松披农寺受戒,帕阿姜迪、帕图山寺为导师,Luang Por Niang
Inthachoto。Phra Ajarn Nong Inthasuwanno是个和尚。获得绰号“昌达萨罗”
他在 Wat Song Phi Nong 住了一年,跟随 Luang Por Nong 和
Luang Por Niam 学习禅修。短时间内然后前往曼谷来记住Phra Chetuphon寺的佛教大斋期为了在崇迪帕佛禅(高棉)和崇迪帕万拉(Puan)统治时期学习佛法,然后去各个部门学习打坐和打坐。近10年直到1916年,当时的Phra
Chetuphon Temple住持Somdej Phra Wanrat (Puan)奉命为Wat
Pak Nam的代理住持,并于1920年被任命为住持处理政府。直到它兴盛起来并享有盛誉至今。他于
1959 年 2 月 3 日去世,享年 75 岁,53 岁。
这枚硬币与 1957 年第一款模型相同,由 Luang Por Sod
创建,分发给所有门徒。当他被提升为“Phra Mongkolthepmuni”于1957年12月5日与同一法身开光「粉护身符礼物」
质量含量,制成银和铜,金扇贝银是非常稀有的。
佛教人物
形状为椭圆形硬币,耳在身,正面为龙波草像。半复制品在他的头顶上,有一个铭文,上面写着:背面的“Phra
Mongkolthepmuni”是法身星座。有 4 个 yantra 字符,上面写着“Samma
Arahang”,顶部弯曲的泰文字符如硬币图片所示“献祭纪念Paknam Temple,
Phasi Charoen, 吞武里
佛
Luang Por Sod
各种圣物的佛德功德。它以在慈悲、大运和误会中都出现,尤其是误会中出现而著称。直到有句关于佛陀的恩典的说法“如果你在
Wat Paknam
有一个和尚和你在一起......在水中你不会死,你不会死在陆地上,你不会死在空中。不缺好运并且价值数十亿的宝物或希望什么,祈祷,一切都会实现。”但重要的是那个人必须能够修行才能先达到佛陀。通过禅修,直到看到像玻璃一样清晰的佛像并且可以根据需要指导大小准备诵念佛像“Samma
Arahang”年。
เหรียญถวายภัตตาหาร หลวงพ่อวัดปากน้ำ ปี2501
หลวงพ่อสด วัดปากนํ้า ภาษีเจริญ
พระเกจิอาจารย์ที่มีชื่อเสียงโด่งดังเป็นที่เคารพศรัทธาของพุทธศาสนิกชนทุกหมู่เหล่า
วัตถุมงคลของท่านก็ล้วนเป็นที่นิยมสะสมสืบเนื่องจากประสบการณ์ด้านพุทธคุณเป็นเลิศเป็นที่ปรากฏ
หนึ่งในนั้นก็คือ “เหรียญรูปเหมือนรุ่นแรก ปี
2500”
เป็นเหรียญรูปเหมือนหลวงพ่อสดที่สร้างเป็นครั้งแรก
จึงเป็นที่นิยมสะสมและแสวงหาอย่างสูง
ผู้สร้าง
พระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร) เดิมมีชื่อว่า “สด
มีแก้วน้อย” เกิดเมื่อวันที่ 10 ตุลาคม พ.ศ.2427
ในรัชสมัยรัชกาลที่ 5 ณ บ้านสองพี่น้อง ต.สองพี่น้อง
อ.สองพี่น้อง จ.สุพรรณบุรี
ได้เรียนหนังสือเมื่อเยาว์วัยกับพระภิกษุซึ่งเป็นน้าชาย
ที่วัดสองพี่น้อง
ต่อมาได้ศึกษาอักษรสมัยที่วัดบางปลา อ.บางเลน จ.นครปฐ
ในปี พ.ศ.2449 ได้อุปสมบท ณ วัดสองพี่น้อง โดยมี
พระอาจารย์ดี วัดประตูศาล เป็นพระอุปัชฌาย์,
หลวงพ่อเหนี่ยง อินฺทโชโต เป็นพระกรรมวาจารย์,
พระอาจารย์โหน่ง อินฺทสุวณฺโณ
เป็นพระอนุสาวนาจารย์ ได้รับนามฉายาว่า “จนฺทสโร”
จำพรรษาอยู่วัดสองพี่น้อง 1 พรรษา
เรียนกรรมฐานกับหลวงพ่อโหน่งและหลวงพ่อเนียม
ในระยะเวลาสั้นๆ แล้วเดินทางเข้ากรุงเทพฯ
มาจำพรรษาที่วัดพระเชตุพนฯ
เพื่อเล่าเรียนพระปริยัติธรรมในสมัยสมเด็จพระพุฒาจารย์
(เข้ม) กับ สมเด็จพระวันรัต (เผื่อน)
จากนั้นไปศึกษาสมถกรรมฐานและวิปัสสนากรรมฐานในสำนักต่างๆ
เป็นเวลาเกือบ 10 ปี จนปี พ.ศ.2459
สมเด็จพระวันรัต (เผื่อน) เจ้าอาวาสวัดพระเชตุพนฯ
สมัยนั้น มีบัญชาให้ไปเป็นรักษาการเจ้าอาวาสวัด
ปากนํ้า และได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้าอาวาส ในปี
พ.ศ.2463
ดูแลปกครองวัดจนเจริญรุ่งเรืองมีหน้ามีตามาถึงทุกวันนี้
ท่านมรณภาพเมื่อวันที่ 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2502
สิริอายุได้ 75 ปี พรรษา 53
เหรียญรูปเหมือนรุ่นแรก ปี 2500 นี้
หลวงพ่อสดท่านสร้างเพื่อแจกแก่บรรดาศิษยานุศิษย์
ในคราวได้รับเลื่อนสมณศักดิ์เป็นที่ “พระมงคลเทพมุนี”
เมื่อวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ.2500
ปลุกเสกด้วยวิชาธรรมกายเช่นเดียวกับ “พระผงของขวัญ”
เนื้อหามวลสาร สร้างเป็น
เนื้อเงินและทองแดงกะหลั่ยทอง
เนื้อเงินค่อนข้างหายากมาก
พุทธลักษณะ
ลักษณะเป็นเหรียญรูปไข่ หูในตัว
ด้านหน้าเป็นรูปหลวงพ่อสด จำลองครึ่งองค์
เหนือศีรษะมีอักษรเขียนว่า “พระมงคลเทพมุนี”
ด้านหลัง เป็นดวงพระธรรมกาย มีอักขระยันต์ 4 ตัว
อ่านว่า “สัมมาอะระหัง”
มีอักษรไทยด้านบนโค้งตามรูปเหรียญว่า “ที่ระลึกในการถวาย
ภัตตาหารวัดปากนํ้า ภาษีเจริญ ธนบุรี”
พุทธคุณ
พุทธคุณของวัตถุมงคลของหลวงพ่อสดทุกรุ่นทุกแบบ
เป็นที่เลื่องลือปรากฏทั้งด้านเมตตามหานิยม มหาลาภ
และแคล้วคลาด โดยเฉพาะด้านแคล้วคลาด
จนมีคำกล่าวถึงพระพุทธคุณของท่านว่า “ถ้าท่านมีพระวัดปากนํ้าอยู่กับตัวแล้ว.....ในนํ้าไม่ตาย
บนบกไม่ตาย กลางอากาศไม่ตาย ลาภผลไม่ขาดมือ
และมีค่าเท่ากับสมบัตินับพันล้าน
หรือมุ่งหวังสิ่งใดก็ให้อธิษฐานเถิดจักเกิดสัมฤทธิผลทุกประการ”
แต่ประการสำคัญก็คือ
ผู้นั้นต้องสามารถปฏิบัติให้เข้าถึงองค์พระให้ได้ก่อน
ด้วยการทำสมาธิจนนิมิตเห็นองค์พระใสเป็นแก้ว
และสามารถกำกับขนาดใหญ่เล็กได้ตามต้องการ
พร้อมท่องพระคาถาภาวนากำกับองค์พระว่า “สัมมา
อะระหัง” ครับผม
|