祖父 Khai 勳章,Bophit Phimuk 寺 或建於 1930 年的曼谷

TRAVEL TOOLS

 

id7500003000070


 


 

祖父 Khai 勳章,Bophit Phimuk 寺 或建於 1930 年的曼谷 祖父 Khai 勳章,Bophit Phimuk 寺 或建於 1930 年的曼谷  

 

祖父 Khai 勳章,Bophit Phimuk 寺 或建於 1930 年的曼谷 Wat Choeng Lane

 by Luangpookai wat Bophit Phimuk

Product :000188

Price :00.00

Detail:祖父 Khai 勳章,Bophit Phimuk 寺 或建於 1930 年的曼谷 Wat Choeng Lane

暹羅最受歡迎的護身符集合“Luang Pu Khai 獎章”,Bophit Phimuk 寺或者曼谷的Wat Choeng Lane,建於1930年,大概造了不超過70枚錢幣。Luang Pu Khai的名聲已經有幾十年了。因為他是創造蒙眼僧人的僧人大師愛粉有很多佛和一枚肖像硬幣在護身符行業有很高的價值人們普遍認為,它在慈悲、無懈可擊、威力大、圓滿方面出眾,是值得收藏的好護身符。或為了將來了解、保存、維護和傳播它們而學習,以免它們丟失
一號金幣“龍普開、曾倫寺”
提到龍普開因塔薩羅的名字,很多人可能會無動於衷。但如果有人是護身符鑑賞家或教員硬幣收藏家,必須說這個名字不為任何人所知,因為他是傳說中的硬幣的所有者。是世界上最昂貴的硬幣,因為“Boy Tha Prachan”出來通過媒體保證完美狀態,一枚硬幣,3000 萬泰銖,如果有人租,請舉手(2014 年價格)!!

因為你的頭像幣做的很少,有人說只做了 26 個硬幣,有人說 72 個硬幣(等於 6 個年齡週期)。但數量絕對不超過這個是一個標準。和瑯普凱除了您的第一枚硬幣外,您還將因永生而聞名。還有你的神聖物品也在 Benjapakee 集合中排名。因為泰國護身符愛好者協會主席Pa Yap Phayap Khamphan曾說過,用粉混合愛的粉末製成的Benjaphakhea Pidta護身符,所有護身符都很貴,是:1.帕比打護身符,Luang Por Kaew,Kluawan Temple,春武里府 2. Phra Pidta Luang Pu Iam, Saphan Sung Temple, Nonthaburi Province, 3. Phra Pidta Luang Pu Khai, Choeng Lane Temple (Wat Bophit Phimuk), Bangkok 4. Pidta Buddha amulet, Luang Pu Yim, Nong Bua Temple, Kanchanaburi 5. Phra Pidta Reverend Grandfather Jean, Tha Lat Temple, Chachoengsao Province

做功德當日,寺院工作人員贈送了一本精裝書,書名是《龍普開因塔薩羅的歷史書和榮譽》給了我一本學習和獲取知識。這是一本已經付款的書它於 1933 年在他去世後在 Luang Pu Khai Plearn 會議上首次印刷。 100 天,第 2 次印刷,日期為 1972 年,當時正值寺廟製作龍普開紀念儀式的護身符。大集又來更新原作。這是我在 2005 年收到 Phratheppariyatsuthi 的一本書。 Wat Bophitphimuk Worawihan 住持11月出版
"瑯普凱獎章這是他盤腿坐著的照片。披肩長袍在他的胸前披上一塊聖衣有一封信說“Inthasaro Bhikkhu”這是他的綽號黃青銅他創造它是為了分發給他的親密門徒。它是一枚橢圓形硬幣,寬 2.6 厘米,長 3.5 厘米,橢圓形,帶鉛環。背面光滑,鏤刻有五神圖。 《南無布達耶》
如果被問及它的稀有性和租賃價格 - 第一枚硬幣,Luang Pu Khai Inthasaro,1929(但 Boy Tha Prachan 說 1930)在很長一段時間內都很稀有且昂貴,我想說它是假的 - 仿品。類型數以百萬計的主要硬幣無法排列在一個集合中。 Benjaphakee 是一種流行的教師幣。因為很少而且非常稀有。
Benjaphakee 硬幣套裝,由 Luang Por 蒸餾硬幣組成。 Wat Phrayat (Ayutthaya), Luang Por Kong 硬幣Wat Bang Kraphom (Samut Songkhram), Luang Por Chui 獎章Gangaram Temple (Phetchaburi), Luang Pu Suk Wat Pak Khlong Makham Tao (Chainat), Luang Pu Iam南南寺(Bang Khun Thian,曼谷),所有五枚硬幣都在這裡它被認為是最好的舊 Benjapakiet 硬幣。但即使很少見據說它們仍然在收藏家市場流通。
因為被視為最精髓的硬幣肯定有很多元素,比如價值觀、佛教、佛教藝術、租金,最重要的是。收藏市場的錢幣流通,這5個錢幣都齊全了,但隆普開、曾倫寺的錢幣,正如他們所說的,他們沒有權利,因為最後一點是沒有圓圈!!
因為如果 Luang Pu Khai 的硬幣安排在 Benjaphakeet 集合中即使有人擁有全部 4錢幣還缺少第5枚錢幣,也就是曾倫寺龍普開的錢幣,是為了各方的安逸,也為了以後的演奏和收藏。因此,龍普凱的錢幣被剪掉了。就像過去一樣瑯勃康勳章Wat Bang Kraphom不在典型集合中只有集合中的硬幣考祖父的護身符,拉西寺,但由於它的稀有性,不得不被砍掉,並用龍波公的硬幣代替。
瑯普凱幣真幣 - 真幣只有少數人通過大眾媒體出現。其中之一是“Boy Tha Prachan”,僅一億和尚。他說剩下的硬幣應該不會超過10個,因為已經很長時間了,過去的人沒有為了利益而收集。可以給後代丟失,或有鑄造工作時,佛像掉入坩堝等。
可能因為種種原因,這枚硬幣已經鑄造得更少了!?!
他也形容這是正常的。如果一個橢圓形硬幣1917 年至 1937 年的硬幣製造中,大約 98% 的硬幣是帶有焊接耳的硬幣。但是這個Luang Pu Khai硬幣模型的特殊性儘管它建於 1930 年,但它本身就是一枚耳幣。在氣缸旁邊創建硬幣泵的情況下大多數硬幣都鑄造成數百或更多。

 

เหรียญหลวงปู่ไข่" วัดบพิตรภิมุข หรือวัดเชิงเลน กรุงเทพฯ สร้างปี 2473 

รหัสสินค้า: 000188

ราคา: 00.00 บาท

 

รายละเอียด:"เหรียญหลวงปู่ไข่" วัดบพิตรภิมุข หรือวัดเชิงเลน กรุงเทพฯ สร้างปี 2473

รวมสุดยอดพระเครื่องเมืองสยามยอดนิยม "เหรียญหลวงปู่ไข่" วัดบพิตรภิมุข หรือวัดเชิงเลน กรุงเทพฯ สร้างปี 2473 สันนิษฐานว่าสร้างไม่เกิน 70 เหรียญ ชื่อเสียงของหลวงปู่ไข่นั้นโด่งดังมาหลายทศวรรษแล้ว เพราะเป็นเกจิอาจารย์ผู้สร้างพระปิดตา เนื้อผงคลุกรัก ที่มากด้วยพุทธคุณ และเหรียญรูปเหมือน มีค่านิยมสูงในวงการพระเครื่อง เป็นที่ยอมรับกันทั่วไปว่าเด่นในด้านเมตตา คงกระพัน มหาอุต และดีพร้อม อันเป็นพระดีที่ควรค่าแก่การเก็บรักษา หรือเรียนรู้ไว้เพื่อประโยชน์ในการรู้จัก รักษา ดำรงไว้และเผยแพร่กันต่อ ๆ ไป มิให้สูญหาย
.เหรียญที่แพงอันดับหนึ่ง "หลวงปู่ไข่ วัดเชิงเลน"
เมื่อเอ่ยนามหลวงปู่ไข่ อินฺทสโร หลายท่านอาจจะเฉยๆ แต่ถ้าใครเป็นนักเลงพระเครื่องหรือนักสะสมเหรียญคณาจารย์ ต้องบอกว่า นามนี้ไม่มีใครไม่รู้จัก เพราะว่า ท่านเป็นเจ้าของเหรียญแห่งตำนานที่ว่ากันว่า เป็นเหรียญที่แพงที่สุดในโลก เพราะ "บอย ท่าพระจันทร์"ออกมาการันตีผ่านสื่อมวลชนว่า สภาพสวยสมบูรณ์ เหรียญเดียว ๓๐ ล้านบาท รับเช่าถ้าใครมี-ยกมือขึ้น(ราคาเมื่อ ๒๕๕๗)!!

เพราะเหรียญรูปเหมือนของท่าน สร้างน้อยมากบ้างก็ว่าสร้างเพียง ๒๖ เหรียญ บ้างก็ว่า ๗๒ เหรียญ(เท่ากับ๖รอบอายุ) ยังไม่มีข้อยุติไม่มีบทสรุปที่ชัดเจน แต่เป็นมาตราฐานว่าจำนวนไม่เกินนี้แน่นอน และสำหรับหลวงปู่ไข่นั้น นอกจากเหรียญรุ่นแรกของท่านจะโด่งดังอมตะแล้ว ยังมีวัตถุมงคลของท่านที่ติดอันดับอยู่ในชุดเบญจภาคีเหมือนกัน เพราะป๋ายัพ-พยัพ คำพันธุ์ นายกสมาคมผู้นิยมพระเครื่องพระบูชาไทย เคยบอกว่า เบญจภาคีพระปิดตาเนื้อผงคลุกรัก แพงทุกองค์ คือ 1.พระปิดตา หลวงพ่อแก้ว วัดเคลือวัลย์ จ.ชลบุรี 2.พระปิดตาหลวงปู่เอี่ยม วัดสะพานสูง จ.นนทบุรี 3.พระปิดตาหลวงปู่ไข่ วัดเชิงเลน (วัดบพิตรพิมุข) กทม. 4.พระปิดตาหลวงปู่ยิ้ม วัดหนองบัว จ.กาญจนบุรี และ 5.พระปิดตาหลวงปู่จีน วัดท่าลาด จ. ฉะเชิงเทรา

วันที่ไปทำบุญทางเจ้าหน้าที่วัดฯได้มอบหนังสือปกแข็งชื่อ "หนังสือประวัติและเกียติคุณหลวงปู่ไข่ อินฺทสโร" ให้ผมหนึ่งเล่มเอาไว้ศึกษาหาความรู้ ซึ่งเป็นหนังสือที่ผ่านการชำระข้อมูลแล้ว พิมพ์ครั้งแรกเมื่องานประชุมเพลิงหลวงปู่ไข่ ในปี ๒๔๗๖ หลังท่านมรณภาพได้ ๑๐๐วันและพิมพ์ครั้งที่๒ เมื่อ๒๕๑๕ ในโอกาสที่ทางวัดทำพิธีพุทธาภิเษกวัตถุมงคลย้อนยุคหลวงปู่ไข่ ชุดใหญ่และมาปรับปรุงต้นฉบับใหม่อีกครั้ง เป็นเล่มที่ผมได้รับมอบมาในปี ๒๕๔๘ โดย พระเทพปริยัติสุธี เจ้าอาวาสวัดบพิตรพิมุขวรวิหาร จัดพิมพ์เดือนพฤศจิกายน
" เหรียญหลวงปู่ไข่ เป็นรูปเหมือนของท่านนั่งขัดสมาธิ ครองจีวรเฉวียงบ่า พาดผ้าสังฆาฎิคาดรัดประคดอก มีตัวอักษรว่า "อินฺทสโรภิกขุ"ซึ่งเป็นฉายาของท่าน เนื้อสำริดออกเหลือง ท่านสร้างไว้แจกลูกศิษย์ที่ใกล้ชิด ลักษณะจะเป็นเหรียญรูปไข่ ขนาดกว้าง ๒.๖ เซ็นติเมตร ส่วนวงรียาวประมาณ ๓.๕ เซ็นติเมตร มีหูห่วงเชื่อมตะกั่ว ส่วนด้านหลังเรียบมีรอยจารด้วยเหล็กแหลมลงอักขระยันต์พระเจ้าห้าพระองค์ "นะโมพุทธายะ"
ถ้าถามว่าเรื่องความหายากและราคาเช่าหานั้น-เหรียญรุ่นแรกหลวงปู่ไข่ อินฺทสโร ๒๔๗๒(แต่บอย ท่าพระจันทร์บอก ๒๔๗๓) หายากและแพงมานานแล้วและขอบอกว่าของเก๊-ของเลียนแบบ มีจำนวนมากมายมหาศาลนับล้านเหรียญที่สำคัญเป็นเหรียญที่ไม่สามารถจัดอยู่ในชุด เบญจภาคีเหรียญคณาจารย์ยอดนิยมได้ เพราะเนื่องจากมีจำนวนน้อยและหายากมากถึงมากที่สุด
สำหรับชุดเหรียญเบญจภาคี ประกอบด้วย เหรียญหลวงพ่อกลั่น วัดพระญาติ(อยุธยา),เหรียญหลวงพ่อคง วัดบางกระพ้อม(สมุทรสงคราม),เหรียญหลวงพ่อฉุย วัดคงคาราม(เพชรบุรี),หลวงปู่ศุข วัดปากคลองมะขามเฒ่า (ชัยนาท),หลวงปู่เอี่ยม วัดหนัง(บางขุนเทียน กรุงเทพฯ) ซึ่งทั้งห้าเหรียญ ถือว่าเป็นสุดยอดเหรียญเบญจภาคียุคเก่า แต่แม้ว่าจะหายาก ว่ากันว่ายังพอหาได้มีหมุนเวียนในตลาดนักสะสม
เพราะการจะยกย่องให้เป็นสุดยอดเหรียญเบญจภาคีนั้น จะต้องมีองค์ประกอบหลายด้าน ไม่ว่าจะเป็น ค่านิยม,พุทธคุณ,พุทธศิลป์,ราคาเช่าหาและที่สำคัญคือ การวนเวียนเหรียญในตลาดนักสะสม ซึ่งทั้ง๕ เหรียญมีครบถ้วนแต่สำหรับเหรียญหลวงปู่ไข่ วัดเชิงเลน อย่างที่บอกว่า หมดสิทธิ์ เพราะข้อสุดท้ายคือไม่มีวนเวียน!!
เพราะถ้านำเหรียญหลวงปู่ไข่ ไปจัดอยู่ในชุดเบญจภาคี ต่อให้ใครมีครบ๔ เหรียญก็ยังขาดเหรียญที่๕ คือ เหรียญหลวงปู่ไข่ วัดเชิงเลน อยู่ดี เพราะความสบายใจของทุกฝ่ายและเพื่อให้การเล่นหาสะสมมีอนาคต จึงมีการตัดเหรียญของหลวงปู่ไข่ออกมา เช่นเดียวกับสมัยก่อนนั้น เหรียญหลวงพ่อคง วัดบางกระพ้อม ไม่ได้อยู่ในชุดเบญจภาคี แค่เหรียญที่อยู่ในชุดคือ เหรียญหลวงปู่ขาว วัดหลักสี่ แต่เพราะความหายากมากๆเลยต้องตัดออกไปแล้วเอาเหรียญหลวงพ่อคง เข้ามาแทน
เหรียญหลวงปู่ไข่ เหรียญจริง-เหรียญแท้ คนที่นำมาโชว์อยู่บ่อยๆผ่านสื่อมวลชนทั้งหลายก็เห็นจะมีแค่ไม่กี่ท่าน หนึ่งในจำนวนนั้นคือ "บอย ท่าพระจันทร์" เซียนพระร้อยล้านเท่านั้นเอง ซึ่งเจ้าตัวบอกว่า น่าจะมีหลงเหลืออยู่ไม่น่าจะเกิน๑๐ เหรียญ เพราะผ่านกาลเวลามายาวนานและคนในสมัยก่อนก็ไม่ได้สะสมเพื่อผลประโยชน์ อาจจะมอบให้ลูกหลานไป ทำสูญหายไปหรือเวลามีงานหล่อพระพุทธรูปก็หย่อนลงไปในเบ้าหล่อมเลยก็มี ฯลฯ
อาจจะด้วยเหตุผลสารพันนี้จึงทำให้เหรียญรุ่นนี้ที่สร้างน้อยอยู่แล้วยิ่งมีน้อยลงไปอีก!?!
เขา ยังเคยอธิบายเอาไว้ว่าปกติแล้ว ถ้าเป็นเหรียญวงรีรูปทรงไข่ การสร้างเหรียญตั้งแต่ปี ๒๔๖๐- ๒๔๘๐ ประมาณ๙๘% จะเป็นเหรียญชนิดหูเชื่อม แต่ความพิเศษของเหรียญหลวงปู่ไข่รุ่นนี้ แม้จะสร้างในปี ๒๔๗๓ กลับเป็นเหรียญหูในตัว ในกรณีการสร้างเหรียญปั๊มข้างกระบอก ส่วนใหญ่จะเป็นเหรียญที่มีการสร้างในหลักร้อยเหรียญขึ้นไปก
@--------------------- ขอบคุณครับ ---------------------@

--------- เพื่อนๆท่านใดสนใจโทรติดต่อด่วนครับ ---------
--------------- พร บางระจัน 081-7842076 -----------------

 
THAILAND AMULET CENTER |CHIANGMAI OFFICE
211/45 the City Villa, Soi Ladprao 126
Ladprao Rd, Kwang Prapla,Wang Thong Lang district
Bangkok 10310 Mobile :66-093-3361995     e-mail:amuletcenter@hotmail.com
พระเครื่องเมืองสยาม| โดย พร บางระจัน:
236/2 หมู่ 5 ,ถนน เชียงใหม่ ลำพูน ,ตำบลยางเนิ้ง,อำเภิสารภี จังหวัดเชียงใหม่ 50140
Tel: 66-053-963029,66-093-3361995  Fax : 66-53-963029
Mobile : 66-093-3361995   e-mail:amuletcenter@hotmail.com
Copyright © 2006 Thailand Amulet Center. Website Terms of Use   |   Privacy Statement Find us on Youtube Facebook