Phra Somdej Wat Rakang The Buddha image."สมเด็จวังหน้า -สมเด็จวัดพระแก้ว-
สมเด็จตราแผ่นดิน"
Name of the image of Buddha: |
Phra Somdej Wat Rakang The Buddha image. |
Supporter of casting: |
Luang Phor To |
Location of Casting or
Finding: |
Wat Rakang
Kositaram |
Year of Casting: |
(B.E. 2400 - 2409) |
Praise of the image of
Buddha: |
merciful Trading prosperity |
Phra Somdej Wat Rakang The Buddha image.
Created by Her Royal Highness Princess Maha
Chakri Sirindhorn. Rectangular Size about 2.5 cm
wide, about 4 cm high white. The key ingredient
in the shell, rice husk, marble, 5 kinds of
magic powder and oil.
Phra Somdej Wat Rakang There are many prints
together. But popular. Print Printed Ked Baked
Printed Pagoda printed base and printed Po Po.
His Majesty King Bhumibol Adulyadej is
the most popular type of printed monks
in Thailand.
Phra Somdej Wat Rakang Print Both meat
and meat to coarse meat. Or custard meat
And texture to the mortar.
The print is a picture of the Buddha
sitting in a bell upside down. The
Buddha looked tilting to the right. Go
to the left, flick to the left. Some may
pass through the arch above. The left
ear is a long faded line. Shoulder Left
Shoulder See the end of the feet
slightly extended base as the bottom
trapezoid.
His Majesty King Bhumibol Adulyadej It
is the temple of the temple that found
the smallest number of all the tablets.
Print style
A priest sitting in a bell upside down.
Fortress Round It is a lotus like a
lotus bud. The origin of the printed
name is different from the printed one.
At the end of Phra Ket not the line. The
Buddha is a stalwart. Visible lines
clearly.
Phra Somdej Wat Rakang Chedi The prints
are clergy sitting in bells upside down.
I see from the bottom to the bottom is
always.
Pagoda The body is thicker than all
printed.
His Majesty King Bhumibol Adulyadej The
prints are clergy sitting in bells
upside down. The ear is a loincloth.
There is a line between the Lord and the
uppermost base. Underneath the top floor
with the middle floor.
His Majesty King Bhumibol Adulyadej Pho
Printed in a belfry, in a bell,
resembling a printed base. Over the head
and shoulders covered with leaves.
His Majesty King Bhumibol Adulyadej's
other special publications, such as
Chinese post-printing. Printed after
talisman Or behind the Kanok pattern.
องค์ที่1:
รหัสสินค้า: 000095
ประวัติพระสมเด็จวังหน้า
-สมเด็จวัดพระแก้ว- สมเด็จตราแผ่นดิน
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงมีพระราชดำริ
ให้สร้างขึ้น
เพื่อระลึกถึงพระคุณครูบาจารย์
(สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พฺรหฺมรํสี)
โดยมอบหมายให้สมเด็จพระมหาสมณเจ้า
กรมพระยาวชิรญาณวโรรส
เป็นสมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 10
แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ เสด็จสถิต ณ
วัดบวรนิเวศราชวรวิหาร
ได้รับมหาสมณุตตมาภิเษกเมื่อปี พ.ศ. 2453
(ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
ดำรงพระอิสริยยศ 11 พรรษา
สิ้นพระชนม์เมื่อปี พ.ศ. 2464 พระชันษา 61
ปี )เป็นผู้ดำเนินการจัดสร้าง
มวลสารจากพระสมเด็จวัดระฆัง
พุทธาพิเสกใหญ่ วัดพระแก้ว
วัดพระศรีรัตนศาสดาราม ใน พระบรมมหาราชวัง
โดยอันเชิญในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าให้ใช้ตราอาร์มเป็นตราแผ่นดินใน
พ.ศ. 2416 ต่อมาพระองค์มีพระราชดำริว่า
ตราอาร์มที่ใช้เป็นตราแผ่นดินในเวลานั้นเป็นอย่างฝรั่งเกินไป
และทรงระลึกได้ว่า
พระเจ้าแผ่นดินสมัยกรุงศรีอยุธยาเคยใช้ตราพระครุฑพ่าห์มาก่อน
(ตราที่กล่าวถึงคือตราพระราชลัญจกรพระครุฑพ่าห์องค์เดิม)
จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สมเด็จฯ
เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ทรงเขียนพระราชลัญจกรพระครุฑพ่าห์ขึ้นเป็นตราแผ่นดินเพื่อใช้แทนตราอาร์ม
โดยครั้งแรกทรงเขียนเป็นรูปตราพระนารายณ์ทรงครุฑจับนาค
ตรานี้ได้ใช้อยู่ระยะหนึ่งก็โปรดเกล้าฯ
ให้สมเด็จฯ
เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ทรงเขียนตราครุฑขึ้นใหม่อีกครั้งเป็นตราวงกลม
โดยยกรูปพระนารายณ์และนาคออกเสีย
คงเหลือแต่รูปครุฑ
ซึ่งเขียนเป็นรูปครุฑรำตามแบบครุฑเขมร
พื้นเป็นลายเปลวไฟ เมื่อนำขึ้นทูลเกล้าฯ
ถวายก็ชอบพระราชหฤทัย
และมีพระราชประสงค์ที่จะให้ใช้ตรานี้เป็นตราแผ่นดินถาวรสืบไป
จะได้ไม่ต้องสร้างขึ้นใหม่เมื่อเปลี่ยนรัชกาล
พระสมเด็จวังหน้า
-สมเด็จวัดพระแก้ว- สมเด็จตราแผ่นดิน
ประชาชนทั่วไปเรียกพระพิมพ์นี้ว่า
สมเด็จตราแผ่นดิน
เพราะด้านหลังมีตราแผ่นดิน
ง่ายต่อการจดจำ..และแจกสำหรับเจ้าเมือง
หรือ ขุนนางชั้นผู้ใหญ่
ที่ทำคุณงามความดีสนองงานราชการแผ่นดินฯลฯบุคคลทั่วไปที่ไม่รู้ความจริง
ก็จะเหมารวมเป็น พระสมเด็จเผ่าสร้าง
รายละเอียด: พระสมเด็จวัดระฆัง
"พิมพิ์ ตราแผ่นดิน"
เจ้าของพระ ขุนแสนพิทักษ์ ภิรมย์
ต้นตระกูลภิรมย์
ผู้ที่ควมคุมการก่อสร้างทางรถไฟอุโมงค์ขุนตาน
คนที 4 เพราะคนที่ 1-3
ไม่สามารถควบคุมการก่อสร้างได้
มีเหตุเป็นไปต่างๆนานา
สัตว์ร้ายก็ชุกชุมในอดีตบริเวณบ้านขุนตานยังเป็นถิ่นทุรกันดาร
เต็มไปด้วยโรคภัยไข้เจ็บ
ภูมิประเทศเป็นป่าทึบ และโขดเขาสูง
การก่อสร้างจึงต้องใช้ความอุตสาหะพากเพียรอย่างยิ่ง
เครื่องมือและสัมภาระต่าง ๆ
ที่ใช้ก่อสร้างต้องใช้ช้างและเกวียนบรรทุกไป
พอถึงบริเวณที่ที่เป็นภูเขาต้องใช้วิธีชักรอกขึ้นเขาลงเขาอย่างทุลักทุเล
กรรมวิธีในการขุดเจาะอุโมงค์
เริ่มด้วยการเจาะรูเล็ก ๆ โดยใช้สว่าน
หรือใช้แรงคนตอกสกัด
เมื่อมีรูลึกเข้าไปจึงเอาดินระเบิดไดนาไมต์ฝังเข้าไปในรูนั้นเพื่อระเบิดให้เป็นอุโมงค์ใหญ่
ถ้าหินก้อนใหญ่มากไม่สะดวกในการระเบิดให้แตกเป็นก้อนเล็ก
ๆ
ก็ใช้วิธีสุมไฟให้ก้อนหินร้อนจัดแล้วราดน้ำลงไป
หินนั้นก็จะแตกเป็นเสี่ยง ๆ การขนดิน
และหินออกจากอุโมงค์ก็ใช้คนงานขนออกมาการขุดเจาะเริ่มจากปลายอุโมงค์ทั้ง
2 ข้าง เข้ามาบรรจบกันตรงกลาง
ใช้เวลาทั้งสิ้น 8 ปี
อุโมงค์จึงทะลุถึงกันได้ และใช้เวลาอีก 3
ปีเพื่อผูกเหล็ก เทคอนกรีต ทำผนัง
และหลังคาเพื่อความแข็งแรง
และป้องกันน้ำรั่วซึมเมื่ออุโมงค์เสร็จเรียบร้อยแล้ว
ยังวางรางรถไฟจากลำปางไปยังปากอุโมงค์ไม่ได้เพราะระหว่างทางต้องผ่านเหวลึกถึงสามแห่งไม่มีทางหลีกเลี่ยงได้จึงต้องใช้วิธีทำสะพานทอดข้ามระยะทาง
8 กิโลเมตรเริ่มก่อสร้าง เมื่อ พ.ศ.
2450
เกิดจากพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่
หัว รัชกาลที่ 5 แล้วเสร็จ พ.ศ.
2461 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาประชาธิปกฯ
พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระมหากษัตริย์ในราชวงศ์จักรี 7
สล่าแสน
ภิรมย์
บ้านอยู่อำเภอสารภี ตำบลยางเนิ้ง
ภายหลังงานคุมคุมก่อสร้างทางรถไฟอุโมงค์ขุนตาน
สำเร็จใช้ระยะเวลา 11ปี
ได้รับพระกรุณาแต่งตั้งเป็นขุนแสนพิทักษ์
พร้อมทั้งพระสมเด็จวัดระฆัง
ที่ทำแจกเฉพาะข้าราชบริพาร
ขุนแสนพิทักษ์ ภิรมณ์ ได้รับมอบจาก จาก
ร.7 และต่อมาได้มอบวัตถุมงคลให้กับลูกชาย
ชื่อ สล่าจู ภิรมย์
(สล่าเป็นคำพื้นเมืองเหนือ
คือ ช่าง) ส่วนวิชาอาคม ลูกคนอื่นๆรับไป
ต่อมาสล่าจู ภิรมณ์
ก็มอบพระสมเด็จวัดระฆัง พิมพิ์ตราแผ่นดิน
ให้กับพ่อทอน ภิรมย์
ซึ้งเป็นลูกชาย
ก่อนตายแกมอบ(ขาย)ให้กับหลานเขย
ส่วนพิมพิ์พระที่ พลเอก พลเรือเอก
พลอากาศเอก พลตำรวจเอก
เผ่า ศรียานนท์ อดีตอธิบดีกรมตำรวจ
พ.ศ. 2494(เกิดเมื่อ: 1 มีนาคม
2452 เสียชีวิตเมื่อ: 21
พฤศจิกายน 2503
) สร้างนั้น
คงยึดถือเอาต้นแบบพิมพ์พระ
เพื่อเป็นสิริมงคล เพราะมีตราแผ่นดิน
ทำมาเพื่อแจกจ่ายกับข้าราชการตจำรวจในยุคนั้น..โดยเอาพระสมเด็จวัดระฆังมาเป็นส่วนผสม
การที่เซียนพระหลายท่านบอกว่า พระพิมพ์นี้
พลเอกเผ่าสร้าง นั้นไม่ถูกต้องนะครับ
ท่านมาสร้างเรียนแบบที่หลัง
เหตุที่เล่าได้เพราะสมัยที่เจ้าของพระเขามีชีวิตอยู่เล่าให้ฝัง
ภรรยาหม่อนขันแก้ว ภรรยา สล่าจู
ภิรมย์ เขา
ก็ยังมีชีวิตอยู่ อายุก็ 90 ปี พอดี
เสียสีชิตอายุ 99 ปี
ขุนแสนพิทักษ์ ภิรมย์
(สล่าแสน) ต้นตระกูลภิรมย์
ผู้ที่ควมคุมการก่อสร้างทางรถไฟ
อุโมงค์ขุนตานหรือขุนตาล
คนที 4 เพราะคนที่ 1-3
ไม่สามารถควบคุมการก่อสร้างได้
"เจ้าของพระสมเด็จวังหน้า
-สมเด็จวัดพระแก้ว- สมเด็จตราแผ่นดิน"
เริ่มก่อสร้าง เมื่อ พ.ศ. 2450 แล้วเสร็จ พ.ศ.
2461
ขุนแสนพิทักษ์ ภิรมษ์
มีลูก 4คน
1.อุ๋ยจู (สล่าจู) ภิรมษ์
1.1 พ่อหมื่น ภิรมษ์
ถึงแก่กรรม (ผู้ได้รับพระจาก ขุนแสนพิทักษ์ )
มีลูก1คน นาย รัตน ภิรมย์
1.2 พ่อธร ภิรมษ์ ถึงแก่กรรม
มีลูก 4 คน
1.3 ยายอำไฟ ภิรมษ์ ถึงแก่กรรม
มีลูก 3 คน แต่งงานกับนาย เล็กอำไฟ
1.4 แม่กี๋ ภิรมษ์
ถึงแก่กรรม มีลูก 4 คน แต่งงาน กับนายไว
ไกรยะรัตน์
1.5 หน้าอู๊ต ภิรมษ์ มีลูก 1 คน นายหนุ่ม
2.อุ๋ยวงษ์ ภิรมษ์ ถึงแก่กรรม
มีลูก พ่อยัง
3.อุ๋ยดี ภิรมษ์ ถึงแก่กรรม
มีลูก ยายวรรณ
4.อุ๋ยหล้า ภิรมษ์ ถึงแก่กรรม
มีลูก
.................... ของดี ของแท้
ของเก่าไม่มีราคาถูกครับ.................
@--------------------- ขอบคุณครับ
---------------------@
---------------- รับประกันความแท้ 100%
-----------------
---------
เพื่อนๆท่านใดสนใจโทรติดต่อด่วนครับ
---------
--------------- พร บางระจัน 081-7842076
----------------- |