TRAVEL TOOLS

 

id7500003000070


 


 

大頭幣,Luang Pu Thuat,價值超過100萬,2500 B.E. 大頭幣,Luang Pu Thuat,價值超過100萬,2500 B.E.

 

Luang Pu Rod 铸币,Wat Bang Nam Wan,Sae-Yid 模型,黄铜材质 龙仔厝府,1934 年

Name of the image of Buddha: RIAN Luang Pu Rod
Supporter of casting: Luang Pu Rod
Location of Casting or Finding: Wat Bang Nam Wan
Year of Casting: (B.E. 2477
Praise of the image of Buddha: merciful Trading prosperity

Product: 000520

Price:00.00 Baht

Luang Pu Rod 的传记和护身符,Wat Bang Nam Wan,泰国 Benjapakee 第一枚铸币的拥有者。 最初,他是巴吞他尼府的本地人。 有一个蒙-拉曼谱系。

Luang Pu Rod 出生于 1863 年猪年农历三月的一个星期三,当时是拉玛四世统治后期。家庭。

Luang Pho Rod, Wat Bang Nam Wan, Samut Sakhon 的照片
Luang Pho Rod, Bang Nam Wan Temple, Samut Sakhon, Khun Sorot16 的照片
当你还是个孩子 你身体虚弱,生病了。 带着古老的信仰 你的爸爸妈妈 因此把他带来作为养子 Khae 导师,Wat Bang Nam Wan
凯神父 他是拉曼一族的僧侣,拥有强大的魔法。 在那些日子里非常忠实于拉曼人的信仰
Luang Pu Khae, Bang Nam Wan Temple, Samut Sakhon 的照片
祖父 Khae, Wat Bang Nam Won, 祖父 Rod 的导师
在 Luang Pu Rod 的父母将他交给 Phra Preceptor Khae 之后 看来祖父牧师幸免于难。 他是一个容易养大的孩子,并且从困扰他的许多疾病中康复。 凯导师 因此从那一刻起,他就被命名为“救世主”
1875年,Luang Pu Rod 12岁出家为沙弥。 与 Phra Prepachaya Khae 一起学习 在 Wat Bang Nguan 直到 20 岁,然后他在 Samut Sakhon 府 Mueang 县 Bang Thorat 分区的 Phatthasima Wat Bang Nwan 出家 获得绰号“佛祖桑托”

Phra Preceptor Khae, Wat Bang Nam Wan, 是导师

Phra Ajarn Chaeng,Wat Yai,是一尊佛像。

Phra Ajarn Pan, Wat Yai, 是一名僧人

Luang Pu Rod, Wat Bang Nam Wan旧照(左一坐)
出家时 牧师祖父罗德服务和研究各种科学。 来自 Phra Preceptor Khae 短时间内精疲力尽 因为 Rawd 祖父比任何人都聪明。 此外,牧师祖父罗德 他也有一个和平的性格。 因此,决心严格遵守。 拥有美好的伦理道德

牧师祖父 Rod 学习了 Mercy Mahaniyom 的主题 刀枪不入 制作旗帜以免下雨 防雷等级 与 Phra Preceptor Kae 一起使重物变得像棉花一样轻的主题 除了学习科学 他还学习了内观禅修。 直到被导师非常信任

Luang Pu Rod Buddhasanto, Wat Bang Nam Wan 的旧照片
1896 年,Rod 祖父在他的导师 Came 去世后被任命为 Wat Bang Nguan 的住持。 Bang Numwan 的村民因此邀请了 Luang Pu Rod。 反而成了住持
获得方丈职衔后 他修复了圣殿,直到它兴盛起来。 得到Bang Nwan村民的良好配合 因为Luang Pu Rod是僧人,所以村民们都很有信仰。
除了发展你的寺庙,你也帮助其他的寺庙,在教育方面,他安排传授经文。 并为儿童建立当地学校 在那个酒吧里研究了这个名字 “罗德皮塔亚科姆学校”

Rod Pittayakom学校老照片
1904年,他被任命为Bang Thorat分区的院长。

1909年,受授御玺

1939年获得称号 士官 及教育委员会成员
祖父Rod,Wat Bang Nam Wan,他统治寺庙直到1944年因旧病去世,以他81岁、61岁高龄计算他的荣耀。

Luang Pu Rod, Wat Bang Nam Wan 的护身符

Luang Pu Rod 是一位精通科学的僧人。 他创造了许多圣物,如打固音、铸造奖牌和赛义德泵奖牌。 铸造奖牌、手印 Sema 勋章、护身符衬衫、木雕护身符

祖父 Rod Buddhasanto 牧师,Wat Bang Nam Wan,摄于 1927 年
所造之圣物,每一件都是稀世珍品,具有深厚的法宝功德,为国人所追捧。
1917-1922 年
牧师祖父罗德的三角铸造勋章
1917-1922年混合金料创作 根据历史 在牧师祖父 Khae 之后 Luang Pu Rod 的导师兼养父Luang Pu Rod 圆寂,Luang Pu Rod 联系一位工匠,为他雕刻了一尊真人大小的Luang Pu Khae 雕像。 为了祭祀 表示感谢

Luang Pu Khae、Luang Pu Rod、Bang Nam Wan Temple、Samut Sakhon 的复制品
这次选角 Wat Bang Namwan 的学生组织了一场盛大的活动。 并进行了铸金铸像仪式 三角形的 在坐姿上,背部的边缘是平滑的。 用金和红黄色混合铸造而成 苍黄
这套佛牌,Luang Pho Hong,Bang Phli 寺,Luang Pu Rod 弟子。 据说他们总共建造了 84,000 件,与 Phra Thammakhan 一样多。 由牧师祖父罗德分发给那些在工作中特别提供帮助的人 其余部分安放在寺前宝塔内,分列如下:
单手打印
它是一个没有耳朵的三角形,由混合黄金制成。 一个暴露在空气中,直到氧气呈红黄色。 在某些地方,果肉呈黄绿色。

三角铸币,单手掌印,Luang Pu Rod,Wat Bang Nam Wan,小店,Charoennakorn

三角铸币,单手掌印,Luang Pu Rod,Wat Bang Nam Wan,小店,Charoennakorn
正面为一尊手持坐姿的佛像,佛像的三角棱高高翘起。 佛像的右手高举,像是在祈福。 佛像下方有一个上翘的莲花座作为座座。

背面光滑无字。 在佛像的底座下方,有一个三角形的导火索,这是此佛牌特有的导火索。
两侧的 Pim Phanom 

 

ประวัติและวัตถุมงคลหลวงปู่รอด วัดบางน้ำวน เจ้าของเหรียญหล่อ ๑ ในเบญจภาคีของไทย หลวงปู่รอด วัดบางน้ำวน หรือ หลวงพ่อรอด "พุทธสณฺโฑ" วัดบางน้ำวน พระเกจิผู้เข็มขลังแห่งสมุทรสาคร เดิมท่านเป็นชาวปทุมธานี มีเชื้อสายมอญ-รามัญ

หลวงปู่รอดท่านเกิดเมื่อวันพุธ เดือน ๓ ขึ้น ๓ ค่ำ ปีกุน พ.ศ. ๒๔๐๖ ในสมัยปลายรัชกาลที่ ๔ โยมบิดาชื่อ ทองดี บุญส่ง โยมมารดาชื่อ เกษม บุญส่ง ครอบครัวท่านเป็นคหบดีชาวมอญ

ภาพถ่ายหลวงพ่อรอด วัดบางน้ำวน สมุทรสาคร
ภาพถ่ายหลวงพ่อรอด วัดบางน้ำวน สมุทรสาคร ของคุณโสฬส๑๖
เมื่อตอนที่ท่านยังเป็นเด็ก ท่านมีสุขภาพร่างกายอ่อนแอขี้โรค ด้วยความเชื่อโบราณ บิดา-มารดาของท่าน จึงได้นำท่านไปถวายเป็นบุตรบุญธรรมของ พระอุปัชฌาย์แค วัดบางน้ำวน
ซึ่งหลวงพ่อแค ท่านเป็นพระเถระที่มีเชื้อสายรามัญที่มีคาถาอาคมแกร่งกล้า และเป็นที่เลื่อมใสศรัทธาของชาวรามัญในสมัยนั้นเป็นอย่างมาก
รูปภาพหลวงปู่แค วัดบางน้ำวน สมุทรสาคร
หลวงปู่แค วัดบางน้ำวน พระอุปัชฌาย์ของหลวงปู่รอด
หลังจากที่บิดา-มารดาของหลวงปู่รอดได้ยกท่านให้แก่พระอุปัชฌาย์แคแล้ว ปรากฏว่าหลวงปู่รอด ท่านก็เป็นเด็กที่เลี้ยงง่ายหายจากโรคภัยนานาที่รุมเร้า พระอุปัชฌาย์แค จึงตั้งชื่อให้ท่านว่า "รอด" ตั้งแต่บัดนั้นมา
ปี พ.ศ. ๒๔๑๘ หลวงปู่รอด มีอายุได้ ๑๒ ปี ก็ได้บรรพชาเป็นสามเณร อยู่ศึกษาเล่าเรียนกับพระอุปัชฌาย์แค ที่วัดบางน้ำวนจนกระทั่ง อายุครบ ๒๐ ปี จึงได้อุปสมบท ณ พัทธสีมาวัดบางน้ำวน ตำบลบางโทรัด อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร ได้รับฉายาว่า "พุทธสณฺโฑ" โดยมี

พระอุปัชฌาย์แค วัดบางน้ำวน เป็นพระอุปัชฌาย์

พระอาจารย์แจ้ง วัดใหญ่ เป็นพระอนุสาวนาจารย์

พระอาจารย์ปัน วัดใหญ่ เป็นพระกรรมวาจาจารย์

ภาพถ่ายเก่าหลวงปู่รอด วัดบางน้ำวน (นั่งซ้ายมือองค์แรก)
เมื่ออุปสมบทแล้ว หลวงปู่รอดก็ได้ปรนนิบัติรับใช้และศึกษาวิทยาคมต่างๆ จากพระอุปัชฌาย์แค จนหมดสิ้นในเวลาอันรวดเร็ว เนื่องด้วยหลวงปู่รอดเป็นผู้มีปัญญาไหวพริบดีเกินกว่าใครๆ นอกจากนี้หลวงปู่รอด ท่านยังมีอุปนิสัยรักสงบ จึงมุ่งมั่นปฏิบัติได้อย่างเคร่งครัด มีจริยวัตรที่งดงาม

หลวงปู่รอด ได้ร่ำเรียนวิชาเมตตามหานิยม วิชาคงกระพันชาตรี วิชาทำธงไม่ให้ฝนตก วิชาป้องกันฟ้าผ่า วิชาเสกของหนักให้เบาดั่งปุยนุ่น ฯลฯ กับพระอุปัชฌาย์แค นอกจากจะเรียนวิทยาคมแล้ว ท่านยังเรียนวิปัสสนากรรมฐานอีกด้วย จนเป็นที่ไว้ใจของพระอุปัชฌาย์เป็นอย่างมาก

ภาพถ่ายเก่าของหลวงปู่รอด พุทธสณฺโฑ วัดบางน้ำวน
ปี พ.ศ. ๒๔๓๙ หลวงปู่รอดได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้าอาวาส วัดบางน้ำวน หลังจากที่พระอุปัชฌาย์แคมรณภาพลง ชาวบ้านบางน้ำวนจึงได้ทำการนิมนต์หลวงปู่รอด ขึ้นเป็นเจ้าอาวาสสืบแทน
หลังจากได้รับตำแหน่งเจ้าอาวาส ท่านได้บูรณปฏิสังขรณ์วัดวาอารามจนเจริญรุ่งเรือง โดยได้รับความร่วมมืออันดีจากชาวบ้านบางน้ำวน เนื่องด้วยหลวงปู่รอดเป็นพระที่ชาวบ้านเลื่อมใสศรัทธาเป็นอย่างมาก
นอกจากจะพัฒนาวัดของท่านแล้วท่านยังช่วยเหลือวัดอื่นๆ อีกด้วย เรื่องของการศึกษาท่านก็ได้จัดให้มีการสอนพระปริยัติธรรม และสร้างโรงเรียนประชาบาลให้เด็กๆ ในแถบนั้นได้ศึกษาเล่าเรียนชื่อ "โรงเรียนรอดพิทยาคม"

ภาพถ่ายเก่าของโรงเรียนรอดพิทยาคม
ปี พ.ศ. ๒๔๔๗ ได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้าคณะตำบลบางโทรัด

ปี พ.ศ. ๒๔๕๒ ได้รับพระราชทานตราตั้งเป็นพระอุปัชฌาย์

ปี พ.ศ. ๒๔๘๒ ได้รับสมณศักดิ์เป็น พระครูชั้นประทวน และเป็นกรรมการศึกษา
หลวงปู่รอด วัดบางน้ำวน ท่านปกครองวัดเรื่อยมาจนถึงแก่มรณภาพลงด้วยโรคชราในปี พ.ศ. ๒๔๘๗ นับรวมสิริอายุได้ ๘๑ ปี ๖๑ พรรษา.

วัตถุมงคลของหลวงปู่รอด วัดบางน้ำวน

หลวงปู่รอด ท่านเป็นพระเกจิอาจารย์ที่เก่งกล้าทางด้านวิทยาคมมาก ท่านได้สร้างวัตถุมงคลไว้หลายอย่างเช่น ตะกรุดโทน เหรียญหล่อ เหรียญปั๊มรุ่นแซยิด เหรียญหล่อพิมพ์พนมมือ เหรียญปั๊มเสมา เสื้อยันต์ เครื่องรางไม้แกะ

หลวงปู่รอด พุทธสณฺโฑ วัดบางน้ำวน ถ่ายเมื่อปี พ.ศ. ๒๔๗๐
ซึ่งวัตถุมงคลที่สร้างแต่ละอย่างล้วนเป็นของหายากและมีคุณวิเศษอย่างล้ำลึกเป็นที่แสวงหาของคนทั้งประเทศ
ปี พ.ศ. ๒๔๖๐-๒๔๖๕
เหรียญหล่อสามเหลี่ยมหลวงปู่รอด
สร้างด้วยเนื้อทองผสม ในช่วงปี พ.ศ.๒๔๖๐-๒๔๖๕ ตามประวัติเล่าว่า หลังจากที่หลวงปู่แค ซึ่งเป็นอุปัชฌาย์และบิดาบุญธรรมของหลวงปู่รอด ได้มรณภาพลง หลวงปู่รอดท่านก็ได้ติดต่อช่างมาปั้นหุ่นรูปเหมือนหลวงปู่แคขนาดเท่าองค์จริง เพื่อไว้บูชากราบไหว้ อันแสดงถึงความกตัญญูกตเวที

รูปหล่อจำลองหลวงปู่แค หลวงปู่รอด วัดบางน้ำวน สมุทรสาคร
การหล่อรูปเหมือนในครั้งนี้ ทางคณะศิษย์วัดบางน้ำวนได้จัดงานกันครั้งยิ่งใหญ่ และได้ประกอบพิธีเททองหล่อพระรูปหล่อ แบบสามเหลี่ยม ในลักษณะนั่งยกขอบด้านหลังเรียบ หล่อด้วยเนื้อทองผสมสีเหลืองอมแดงและ เหลืองอมเขียว
พระชุดนี้หลวงพ่อหงส์ วัดบางพลี ศิษย์ของหลวงปู่รอด บอกว่าสร้างรวมกันถึง ๘๔,๐๐๐ องค์ เท่าพระธรรมขันธ์ โดยหลวงปู่รอดได้แจกจ่ายให้กับผู้มาช่วยงานโดยเฉพาะ ส่วนที่เหลือนำมาบรรจุไว้ในเจดีย์หน้าวัดสามารถแบ่งเป็นพิมพ์ต่างๆ ได้ดังนี้
พิมพ์พนมมือข้างเดียว
ลักษณะเป็นรูปสามเหลี่ยม ไม่มีหู สร้างด้วยเนื้อทองผสม องค์ที่โดนอากาศจนเกิดอ็อกไซค์จะมีสีเหลืองอมแดง ส่วนในบางองค์จะมีเนื้อสีเหลืองอมเขียว

เหรียญหล่อสามเหลี่ยมพิมพ์พนมมือข้างเดียว หลวงปู่รอด วัดบางน้ำวน ของร้านเล็ก เจริญนคร

เหรียญหล่อสามเหลี่ยมพิมพ์พนมมือข้างเดียว หลวงปู่รอด วัดบางน้ำวน ของร้านเล็ก เจริญนคร
ด้านหน้า เป็นรูปพระพุทธนั่ง ปางพนมมือ ขอบสามเหลี่ยมขององค์พระยกสูง มือข้างขวาขององค์พระยกขึ้นคล้ายประทานพร ใต้องค์พระมีฐานบัวหงายเป็นอาสนะ

ด้านหลัง เรียบไม่มีอักขระใดๆ ใต้ฐานขององค์พระมีรอยชนวนรูปสามเหลี่ยมซึ่งถือเป็นการต่อชนวนที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะของพระรุ่นนี้
พิมพ์พนมมือสองข้าง

 
THAILAND AMULET CENTER |CHIANGMAI OFFICE
211/45 the City Villa, Soi Ladprao 126
Ladprao Rd, Kwang Prapla,Wang Thong Lang district
Bangkok 10310 Mobile :66-093-3361995     e-mail:amuletcenter@hotmail.com
พระเครื่องเมืองสยาม| โดย พร บางระจัน:
236/2 หมู่ 5 ,ถนน เชียงใหม่ ลำพูน ,ตำบลยางเนิ้ง,อำเภิสารภี จังหวัดเชียงใหม่ 50140
Tel: 66-053-963029,66-093-3361995  Fax : 66-53-963029
Mobile : 66-093-3361995   e-mail:amuletcenter@hotmail.com
Copyright © 2006 Thailand Amulet Center. Website Terms of Use   |   Privacy Statement Find us on Youtube Facebook