TRAVEL TOOLS

 

id7500003000070


 


 

 

KRUBA_BOONCHUM

product: 000531

price :00.00 Thai baht    free shipping world wide

whats app:0933361995

Kruba Boonchum Amulet Prices Spike After Cave Rescue Predictions

Kruba Boonchum amulet prices have spiked after the monk visited Tham Luang cave where the 12 football teens and their coach were trapped.

As a Buddhist country, the presence of Kruba Boonchum Yannasangwalo, a famous monk of Lanna, became a significant moral support for many during the drama of the cave rescue.

Interviews with amulet vendors revealed that the amulet of Kruba Boonchum are now in high demand. Prices have spiked up three to five times the regular price, ranging from hundreds to thousands of Baht. Some rare amulets have reached up to a hundred thousand baht.

Collectors warn people to beware of fake items.

Kruba BoonChum ~ The Forest Monastery & Truly Forest Meditation Monk
Kruba BoonChum born in year BE2508 of Jan 5 at Pa Maisak Village, in Chiang Saen District in northern Thailand. He is a forest meditation monk, well known since the age of thirteen to a great numbers of devotees in Laos, Sipsongbanna of Yunnan Province in China, Shan State of the Union of Myanmar, Thailand for his solitary and serious meditation practice and far away of Tibet and Bhutan. Kruba BoonChum was ordained as monk at the age of eleven and after the completion of his primary education, with thirty-two other boys in 1975. After a year or two, all of them returned to lay life, except Kruba Boonchum who has taken interest in meditation. After studying Buddhist scriptures for a year and having completed nak-dhamma tri, the first foundation level of formal Dhamma examinations. He wanted to learn the Buddha’s teaching in a more practical way. So, whenever given opportunity he would approach well known meditation teachers in northern Thailand and learnt from them. Sometime he would go and meditate in the cemetery or on corpses. Unusually quiet and meditative for his age, he was often teased by other novices. But that did not deter him from going into the meditation practice deeper and seriously than any of the monasteries would offer to a young novice of his age.

Kruba BoonChum serious meditation practice attracted devotees who started making offerings, including money, to him. He donated all the offerings to others, all local Chiang Saen people known about this. Whenever devotees came, he would also do chanting to invoke blessings of the Buddha on them and explain them the Buddha’s dhamma in simple terms. He usually talked about the admiration he had on the Buddha’s life leading to meditation on the Buddha (Buddhanussati), the Buddha’s teaching on the five precepts; the loathsome nature of the body (asubha-bhavana) and the inevitability of death (maranassati) and meditation on compassion (metta). His chanting took approximately two hours and he did so with deep concentration and a beautiful voice. His chants were all in Pali and what have been preserved in the forest meditation tradition in Lanna, northern Thailand and in the eastern Shan State of Burma. His style and his strong faith in chanting awakened the seed of devotion in many who heard it.



上年泰國媒體都在報導一則佛教界奇聞。在圖文並茂的報導中,最令人觸目的就是一位留著長發的僧侶照片。泰國佛教界對僧侶的形像和舉止非常關注,絕對不容許僧侶破壞僧人崇高的形像。根據規定,僧人是連佩戴墨鏡也不容許的,只有皇族的出家人例外。因此泰國的僧侶都互相警惕,確保自己保持端正的形像,可是這位留著長發的僧侶,千真萬確是一名泰國小乘佛教的僧人。這樣的長發形像,在泰國是很難得見到的。所以若有幸能見到這位奇僧,那就是天大的福分!此話怎說呢?


原來此為奇僧並非普通的僧侶,在泰北清邁和清萊的信徒,都奉他為心中的“貼巴召”(TAY PHRA CHOU),意釋活佛。此為奇僧有神出鬼沒的功能,普通信眾想要拜會他,那是一件非常難辦到的事,他沒有固定的佛寺,且喜歡在山洞或偏僻的鄉村裡留宿。那為什麼這位奇僧會以長發的形像示人呢?原來他進入一個山洞裡之後,馬上就在出口處用石灰和木塊封堵。諸位可知道,這位奇僧在山洞裡住了多長時間呢?原來他閉關修行的時間竟然長達3年3個月又3天。出關之後,奇僧就為有幸到來拜見他的信眾賜福回向。然而奇僧出關的時間僅有短短3天的時間,之後將又回到山洞裡閉關修行。所以錯過了這個絕佳良機之後,不知要等到猴年馬月才會再度出關。奇僧在山洞裡修行,所以未曾修胡須和剃發,此次的三年閉關修行成正果後才出來弘法並進行剃發儀式。


這位勤於閉關修行的奇僧就是有“貼巴召諾”(TAY PHRA CHOU NOI)意釋小活佛的古巴汶春(KRUBA BOON CHOM)。古巴汶春出生於佛歷2508年1月5日上年9點,星期二,誕生在泰北清萊府的咩曾縣(MAE CHAN),一戶剛搬來的新婚夫妻。夫名及堪拉(KAM LAT),妻名喃賢拉(SEAN LAT),姓氏為塔建(TATKEAN),夫妻倆的生活過得非常清苦。落下腳之後不久就誕下了第一名兒子,賜名為滴再汶春(DEI CHAI BOON CHOM),“汶”意釋福氣,“春”意釋為洋溢;滴再汶春就是洋溢福氣之小孩,希望他長大後會有大福氣。

在滴再汶春誕生前,母親夢見自己登上深山的一座佛寺拜佛。進入大雄寶殿之後,就看見有一座巨大的金佛祖像,笑容慈祥莊嚴,心裡馬上覺得非常舒坦。醒過來之後,她對夢境的一切感覺歷歷在目,覺得此乃生產前的吉兆。如果不出所料,她順利的誕下一名白白胖胖的男嬰。然而滴再汶春的命運並不順逐,誕生的七個月後。他的父親就因為患上惡疾而逝世,當時他的父親只有25歲。失去依靠的母親唯有帶著滴再汶春搬到外婆家裡居住。從此滴再汶春就交由外婆照顧,母親就出去打工找生計。

滴再汶春從小就不喜歡吃肉,只鐘愛青菜和水果,有時寧願吃白飯加湯水也不會有所怨言。外婆的生活雖然非常清苦,但是每逢佛日或佛教重要的節日,她都會到佛寺進行布施禮佛。通常外婆會領著滴再汶春一起,在佛寺裡守戒,聽僧侶開示佛理。有時則聆聽僧侶教授產定進修等佛教功課。所以滴再汶春從小就常常躲在小角落行禪定,心裡默念“菩哆”(PHU THO)的數氣息修禪定,同時也向僧侶請教簡單的泰語文。
到了四歲,母親改嫁了,又生下了三位弟妹。他的繼父名乃松,是一位苦力,一家五口生活過得非常清苦。滴再汶春五歲時,外婆因年老逝世,母親就將他接過來同住。一家人搬到了桑甘平(SAM KAM PENG)的山頂,一家六口就擠在一件小木寮裡面。父親每天必須下山工作,賺取卑微的工錢,僅僅足夠一家人糊口。有時父母親生病了,身為老大的滴再汶春就負起當家的責任,上山采摘一些香蕉野菜葉之類,然後背下山去兜售。得到一、兩銖,就購買糧食回家。年紀小小的kruba要去做苦工,換來一些錢來養活家人,賣米油、鹽與辣椒等。他的生活即使在苦,他從來沒有變壞,也不去偷不去搶。他母親常常教導他:'絕對不可去偷去搶別人的東西,未來如果有福報日子就會過得好了。' 有時候,小妹妹沒人看顧,他就拿布把妹妹綁在柱子,而自己就出去找飯回來養家。


雖然生活過得非常苦,滴再汶春心裡從來不存貪念。每逢下山趕集,發現了別人遺漏之物,從來不會想要占為己有,一般會將之置放在比較高的地方,避免被路人踐踏,也希望丟失者有機會尋回失物,從不貪心的占為己有。偶爾因貨物無人問津而賣不到錢,滴再汶春寧願委屈自己,向別人乞討一些食物,帶回家讓父母和弟妹飽肚。只要籌集了足夠的食物,他便馬上趕回家,深怕耽誤了時間讓家人挨餓。年紀小小的滴再汶春就飽受艱苦生活的熬煎,但是他從不怨天尤人,更不會因此走捷徑,做一些犯法偷雞摸狗的事情。他曾經跟隨外婆和母親到佛寺裡聆聽僧侶講示佛法,這讓他深深的感動,體會佛法的偉大。他希望自己能有施放大福報之日,因此必須堅持受戒。滴再汶春從小就顯示出他和佛教具有很深得淵源。他的心,一直被灌輸良好的價值與教育,不論是外婆或是媽媽,或是在寺院和尚們的耳目渲染,讓這個孩子從小就與佛教種下很深的緣分。

滴再汶春七歲時,他們山頂上有小木寮早已破爛不堪,下雨的時候滴水處處,一家人就卷縮在角落避雨。遇上了冷天,衣衫單薄,一家人僅靠一張破棉被取暖,冷的苦不堪言。所以滴再汶春常到山野收集一些材枝,用作生火取暖之用。由於居住環境惡劣,體質衰弱的繼父就時常生病。曾有一次,滴再汶春因喝下不干淨的水而染上虐疾,差點連小命也丟了。 根據泰北的舊風俗習慣,如果家裡有兩名男性同時生病,就必須將他們分開,否則其中一人就會喪命。因此母親就想盡辦法把滴再汶春送到一個遠房親戚處居住。


雖然此親戚是屬於富足的家庭,但第一次寄人離下,滴再汶春感覺不習慣。他時常因想念弟妹而暗自神傷。一直以來他與弟妹相依為命,如今不能照顧他們,更不知他們的現狀如何,想到傷心之處就自然淚流滿臉了。剛在親戚家住下不久,問題就發生了。這位親戚嫁了給一位柬埔寨人,所以生出來的孩子也會比較野蠻,可能是與教養有關聯吧!親戚的孩子非常不講理,經常欺負他、強迫他做家務,連家裡的佣人也對他大聲呼喝,還嫌他好吃懶做。有一次佣人提起木棍作狀要打他,不小心使勁過大將滴再汶春打暈了。他醒來之後,卻不將之當是一回事,若無其事的繼續做家務。滴再汶春從來沒有想過向大人打小報告報復,因為比這更艱苦的遭遇他都遇上過了,這種無理取鬧的行為算是小事一宗,正好以他來磨練自己的忍耐力和意志力。

即使在此生活處處受制,他的親戚還是送滴再汶春去上學,這是他一直以來的心願,所以非常勤奮學習。每天上學就是他最快樂的時候,無人欺負他,可以專心的學習語文。在下課的時候,他從不參和其他同學一起玩耍,卻喜歡一個人靜坐,有時候就在大樹下進行禪定。有時甚至入定忘我,遲回到課室而被罰站,同學們就開始取笑他,說他是遲鈍兒。但是他從不管他人怎麼說,還是我行我素的繼續修行。過了兩年滴再汶春九歲時,一位叔父到學校來探望他,發現他在樹下禪定,頓覺此位侄兒將會是一位不可多得的佛教人才,所以決定將他帶到一間佛寺學習佛理。他把滴再汶春交於樾般帶WAT BAN THAY的廟行住持亞替干信(AH THI KAN SING)。

滴再汶春進入佛寺,很自然的就將身上所穿的衣服換成白色的素服。他在佛寺裡負責照顧廟住持的一切飲食起居,空閑時就向僧侶們學習巴利文和經咒等。早上跟隨僧侶們出外化緣托缽,待師兄們用完早餐之後,他就幫助清洗碗碟、抹地抹桌,將佛寺打理得干淨整齊。當空閑下來之後,他必到佛寺後的大菩提樹下行禪定。在深夜人靜時,廟住持偶爾會四處視察佛寺和僧侶們在佛寺之情形,發現了滴再汶春竟然坐在菩提樹下修禪定。結果引起了廟住持的注意。起初住持認為小孩子只是好玩,在裝模作樣。


經過近一年多的觀察之後,住持終於認定滴再汶春絕對是一位百年難得一見的修行者。從他的言行舉止之間,深深體會這孩子有一種老成的感覺,並擁有高僧的淡定和氣度。因此住持決定要好好培養滴再汶春成為小沙彌。 於佛歷2519年5月9日,當時全縣市舉行夏令剃度儀式,即逢學校假期,父母都將孩子送去佛寺短期出家為沙彌,讓他們從小就感染佛學的教化。廟住持亞曾干信見時機已成熟,決定也讓滴再汶春參與這次的梯度儀式。
在泰國,出家須於受戒之前一天進行剃度儀式,然後穿上白色的莎麗袍打扮成王子一樣;那就是泰國人所謂的“渦納”(BUAT NAT),意釋先做一天的龍子。這都是根據佛陀的戒律來進行。當天剃度之後,父母尚可以接孩子回家舉行慶典。明日一早,孩子就必須回佛寺進行受戒儀式。而滴再汶春沒有家人前來探望,只有留在受戒的佛寺過夜。晚上作完晚課後,滴再汶春獨自在佛寺裡閑逛,突然心血來潮,興起了禪定念頭,就在一顆菩提樹下進行入定。凌晨時分,滴再汶春在禪定中遇見了一位老僧,他從菩提樹中走了出來。老僧走到滴再汶春的面前,用手在他的額頭上撫摸了一下,然後還傳授了一些禪定法門,叮屬滴再汶春出家後必須更加勤奮修行,以便日後成為一名修為高深的佛教宗師,教導眾生離苦得樂和解脫之道,對佛教付出無私的奉獻。

隨即老僧轉了個身就不見了。滴再汶春出定時已經快要天亮了,匆匆忙忙刷洗完畢後,就快步趕去樾洗汶仁(WAT SRI BOON YEAN)的大雄寶殿等待受戒儀式。於早上9時39分,由樾汶仁的廟住持柏古喜蘭(PHRA KRU HIN LAN)為戒師。當時出家的孩子共有十二位,開學前全都還俗回家去了,唯獨沙瑪尼汶春(SAMADENN BOON CHOM)沒有還俗。沙瑪尼汶春出家為小沙彌後,駐住在樾般帶過他的第一個守夏節。在第一個守夏節未完成時,就開始有信眾到佛寺來找小活佛化緣。原來坊間已有人盛傳,佛寺裡出現了一位小活佛,而盛傳中的小活佛是“召頓汶”(CHOU THON BOON)的轉世,“召頓汶”是泰北被喻為省僧級高僧的稱呼,他就是聖僧KRUBA SRIVICHAI。

信眾們都覺得沙瑪尼汶春很有聖僧的風範。不久之後,傳說傳遍了整個泰北十多個州府,吸引了成千上萬的信眾到來找沙瑪尼汶春行布施。信眾把佛寺擠得水泄不通,紛紛要求沙瑪尼汶春講示佛理。沙瑪尼汶春對此感到無所滴從,唯有硬著頭皮對信眾們講示為何信徒要遵守五戒。當沙瑪尼汶春將是完畢後,信眾們都感到非常信服,更虔誠的相信這位小沙彌造旨高深了。

除了以佛理開示之外,開始有信徒要求沙瑪尼汶春為他們以撫頭加持,希望借此一帆風順,有些則討取經水回家服用或衝涼,把不好的厄運統統都衝走。最後甚至有善信士為沙瑪尼汶春鑄造佛牌,讓沙瑪尼汶春加持後贈送給有緣的信眾。相信很多心中都未曾看過鑄造佛牌的沙彌,這就是沙瑪尼汶春的一個奇跡了。第二個奇跡,沙瑪尼汶春第一年在樾般帶過守夏節時,就已經成功籌募了足夠建造一座大禮堂和一座佛舍的經費,區區一位11歲的小沙彌,居然能有如此大的福報,實屬罕見之極。

沙瑪尼汶春自從第一天出家就展現了他的天測修葺佛教的一切文物。第一個守夏節過後,沙瑪尼汶春就要實習佛陀在生時苦行修士的訓練,通過學習佛陀以苦行來領悟佛理,就決定進入森林修苦行。他備了簡便的佛袋和佛缽,就獨自進入了森林。每天就只在樹林中或山洞裡過夜,僅靠一點野果和米飯來充飢。雖然身體逐漸變得衰弱,但是沙瑪尼汶春還是堅持修行。只要沙瑪尼汶春駐住在那裡久一點,自然而然就會吸引許多信眾前來朝拜他,照顧他的起居飲食。許多前來探訪沙瑪尼汶春的信眾,一般不會有所要

“ตะกรุดยันต์เก้ากุ่ม” ครูบาบุญชุ่ม ญาณสังวโร

รหัสสินค้า: 000531

ราคา:00.00 บาท

รายละเอียด:

 

เปิดประวัติ “ครูบาบุญชุ่ม” พระไทยที่ชาวพม่าบูชาทั้งประเทศ-องค์จิกมีทรงศรัทธา

เมื่อวันที่ 29 มิ.ย. พระครูบาบุญชุ่ม ญาณสํวโร แห่งวัดพระธาตุดอนเรือง เมืองพง รัฐฉาน ประเทศพม่า ได้มาทำพิธีเปิดทางเพื่อช่วยเหลือเด็กๆ และโค้ช 13 ชีวิต ที่ติดอยู่หน้าถ้ำหลวง วนอุทยานถ้ำหลวง-ขุนน้ำนางนอน อ.แม่สาย จ.เชียงราย ท่ามกลางเจ้าหน้าที่ ญาติๆ และประชาชน ที่มาเฝ้าชมการทำพิธีจำนวนมาก โดยหลังทำพิธี พระครูบาบุญชุ่ม ได้เปิดเผยว่า ไม่มีปัญหา อีก 1-2 วันได้ออกมาแน่

 เกิดเมื่อวันอังคารที่ 5 ม.ค. 2508 เวลา 09.00 น. ที่หมู่บ้านแม่คำหนองบัว ตำบลแม่คำ อำเภอแม่จัน จังหวัดเชียงราย มีชื่อเดิมว่า บุญชุ่ม ทาแกง เป็นบุตรของ พ่อคำหล้า แม่แสงหล้า ทาแกง โดยก่อนที่คุณแม่ตั้งครรภ์ คุณแม่ได้ฝันว่า ด้ขึ้นภูเขาไปไหว้พระพุทธรูปทองคำองค์ใหญ่เหลืองอร่าม แล้วสะดุ้งตื่น

ถ้ำหลวง พระครูบาบุญชุ่ม

เมื่อช่วงวัยเด็ก เคยป่วยด้วยพิษไข้มาลาเรีย เกือบเอาชีวิตไม่รอด คุณแม่แสงหล้าจึงนำไปฝากไว้กับญาติผู้ใหญ่ คือแม่คำ พ่อคำหล้า

“การดำเนินชีวิตของท่านได้รับความลำบากทุกข์ยากต่างๆ แต่กลับทำให้พระครูบาเจ้าฯ มีความเข้มแข็ง อดทน เป็นนักสู้ผู้ยิ่งใหญ่ ดังในช่วงที่ท่านอยู่กับลุงน้อยจันตา มีลูกเลี้ยงของลุงเป็นคนเชื้อสายเขมร รังแก บังคับ ตีต่อย ให้ทำงานหนัก แต่ท่านก็ไม่ถือสาหาความ เพราะท่านผ่านความทุกข์ใหญ่หลวงมามากแล้ว เรื่องแค่นี้ท่านมีความเข้มแข็ง ผ่านพ้นไปได้และมีอยู่วันหนึ่ง หลังจากหยุดพักจากงานและนั่งพักผ่อน ท่านมีนิสัยที่ชอบชุ่มชื่นรื่นเริงจึงขับร้องเล่นซอเมืองเหนืออย่างสบาย อารมณ์ คนงานในบ้านก็โกรธท่านหาว่าเกียจคร้าน เอาก้อนดินใหญ่มาขว้างปาใส่หัวจนเจ็บและมึนงงไปหมด เกือบสลบ แต่ท่านก็ไม่บอกเรื่องที่ถูกคนใช้ทำร้ายให้กับคุณลุง คุณป้า เพราะกลัวคนทำจะเดือดร้อนถูกไล่ออก”

เมื่อปี 2517 ได้เข้ามาเป็นเด็กวัด ที่วัดบ้านด้าย จนปี 2519 ท่านได้บวชเรียนตามปณิธานที่ตั้งไว้ตั้งแต่เยาว์วัย โดยได้บรรพชาเป็นสามเณรที่ วัดศรีบุญยืน ตำบลป่าสัก อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย โดยมีพระครูหิรัญเขตคณารักษ์ วัดศรีบุญเรือง อำเภอแม่จัน เจ้าคณะอำเภอเชียงแสนเป็นพระอุปัชฌาย์ จนต่อมาได้อุปสมบทเป็นพระภิกษุเมื่อปี 2529 และได้จาริกไปตามที่ต่างๆ มากมาย ทั้งภาคเหนือของไทย พม่า เนปาล อินเดีย ภูฏาน ฯลฯ

 

เปิดตำนานของขลัง “ยันต์เก้ากุ่ม”

 ตะกรุดประเภทหนึ่งของล้านนา อนุภาพทางเมตตามหานิยม และป้องกันภูตผีได้
ตะกรุด ประเภทหนึ่งของล้านนา ที่ไม่เหมือนกับที่อื่น ได้แก่ "ยันต์เก้ากุ่ม"(ล้านนาเรียก ตะกรุด ว่า ยันต์) เก้ากุ่ม หมายถึง การรวมกันของสิ่งอันเป็นมงคลต่างๆ มาไว้ด้วยกัน มีลักษณะเป็นตะกรุด ๘ ดอก ถักด้วยด้ายล้อมรอบดอกที่เก้า ซึ่งอยู่ตรงกลาง ด้านบนถักเป็นกระจุก ด้านล่างปล่อยด้ายออกเป็นพู่พองาม

ยันต์เก้ากลุ่ม เป็นที่ทราบกันโดยทั่วไปว่ามีอานุภาพทางป้องกันภูติผีปีศาจ โดยเฉพาะภูติผีที่ชอบเบียดเบียนเด็กและสตรี แต่จากการศึกษาของท่านพระครูปลัดพยุงศักดิ์ ธีรธัมโม วัดควรค่าม้า อำเภอเมืองเชียงใหม่ พบว่ามียันต์เก้ากลุ่มที่ทรงคุณทางเมตตามหานิยม การทำมาค้าขายตลอดจนแคล้วคลาดจากภยันตรายทั้งปวงอีกด้วย ซึ่งความแตกต่างจะอยู่ที่อักขระที่ใช้จารลงในตะกรุด

นอกจากนี้ยังปรากฏยันต์เก้ากลุ่มที่เพิ่มรายละเอียดขั้นอีก โดยเพิ่มตะกรุดเล็ก ที่ลงอักขระพุทธคุณทีละตัวในสายสำหรับคล้องคอตั้งแต่ อิ ติ ปิ โส ภะ คะ วา จนถึง ภะ คะ วา ติ เป็นจำนวน ๕๔ ตัวอักขระ จากนั้นลงอักขระถอยหลังตั้งแต่ ติ วา คะ ภะ จนถึง โส ปิ ติ อิ อีก ๕๔ ตัว รวม เป็น ๑๐๘ ตัวอักขระ อักขระดังกล่าวต้องจารด้วยอักษรธรรมล้านนา และเรียกชื่อตะกรุดนี้ว่า "ยันต์เก้ากุ่มสังวาลย์เป๊ก (สังวาลย์เพชร)"

ปัจจุบันยันต์เก้ากลุ่มปรากฏให้เห็นน้อยมาก อาจเป็นเพราะผู้คนหันไปนิยมพระเครื่องเป็นส่วนใหญ่ หรืออาจเป็นเพราะขาดผู้รู้และผู้ชำนาญในการสร้าง อย่างไรก็ตาม ถ้ากล่าวถึงคุณค่า ถือได้ว่าเป็นสมบัติทางปัญญาที่เป็นมรดกของล้านนาอย่างแท้จริง

โดยยันต์เก้ากุ่มที่มีชื่อเสียงนั้น เป็นยันต์เก้ากุ่มของพระครูบาบุญชุ่ม ญาณสํวโร แห่งวัดพระธาตุดอนเรือง

ยันต์ เก้ากุ่มตำราโบราณล้านนาอานุภาพและพุทธคุณของยันต์นี้นั้นครอบจักรวาล ใช้ดีทุกทาง พระเดชพระคุณครูบาบุญชุ่ม ญาณสังวโร ได้นำมาใช้ในการทำตะกรุดเก้ากุ่มและสร้างชื่อ เสียงให้กับท่านอย่างมาก ด้วยอานุภาพบุญบารมีของครูบาบุญชุ่ม ญาณสังวโรความขลังของตะกรุด ดอกนี้พุทธคุณครอบจักรวาลใช้ สะเดาะเคราะห์กันดวงตกค้ำดวง, กันภูตผีปีศาจสิงชั่วร้าย, กันคุณไสย, ลมเพลม พัด, ถูกกระทำของใส่, เสริมดวงให้ก้าวหน้าเพราะชื่อว่าเก้ากุ่มหรือที่ครูบา เรียกว่ายันต์เก้ากุ่ม, มีเมตตามหานิยมเป็นเสน่ห์ดี มีเรื่องเล่าขานกันว่าแม้แต่ขนาดจอมพลถนอม กิติขจรอดีตนายกของไทยยังใช้ติดตัวเลย, จะเห็นได้ว่าอักขระของยันต์เก้า กุ่มนี้ใครมีไว้กันชะตาขาดและดวงตกอีกทั้งยังเสริมบารมี
 

@--------------------- ขอบคุณครับ ---------------------@ ---------

เพื่อนๆท่านใดสนใจโทรติดต่อด่วนครับ ---------

--------------- พร บางระจัน 081-7842076 -----------------

ศรัทธาล้นหลาม!เหรียญ’ครูบาบุญชุ่ม’ราคาพุ่งแตะหลักแสน หลังเปิดถ้ำช่วย13ชีวิต
เซียนพระแห่กว้านซื้อเหรียญครูบาบุญชุ่ม เกจิดัง หลังทำพิธีเปิดถ้ำช่วยทั้ง 13 ชีวิต เผยสร้างความศรัทธาเลื่อมใสให้กับประชาชนอย่างมาก จนเหรียญขยับราคาพุ่งไปถึง 3-5 เท่า รุ่นปี 2518 จากหลักหมื่นพุ่งสูงขึ้นเป็น 150,000 บาทแล้ว

เหรียญครูบาบุญชุ่ม
กรณีครูบาบุญชุ่ม ญาณสังวโร เจ้าอาวาสวัดพระธาตุดอนเรือง เมืองพง จ.ท่าขี้เหล็ก ประเทศเมียนมา และพระเกจิชื่อดังผู้เป็นที่เคารพสักการะของชาวพุทธในพื้นที่ภาคเหนือของประเทศไทย รวมทั้งเมียนมา สปป.ลาว และจีนตอนใต้ เข้านั่งสมาธิปฏิบัติธรรมภายในกุฏิกลางน้ำตามลำพัง โดยไม่อนุญาตให้ผู้ใดเข้าไปเกี่ยวข้องหรือเข้าไปหา โดยหลังจากครูบาบุญชุ่มเดินทางไปนำพ่อแม่ผู้ปกครองของทั้ง 13 ชีวิต ที่ติดอยู่ในถ้ำหลวง วนอุทยานถ้ำหลวง-ขุนน้ำนางนอน อ.แม่สาย เมื่อวันที่ 29 และ 30 มิ.ย.ที่ผ่านมา และเข้าไปนั่งสมาธิกลางน้ำในวันถัดมาทันที โดยแจ้งไม่ให้ผู้ใดเข้าไปรบกวนนั้น อ่านข่าว ‘พระครูบาบุญชุ่ม’ เตรียมอธิษฐานจิตหน้าถ้ำหลวงอีกรอบ เชื่อ 13 ชีวิตได้ออกจากถ้ำ


ครูบาบุญชุ่มขณะเดินทางไปทำพิธีหน้าถ้ำหลวง
ความคืบหน้า เมื่อวันที่ 4 ก.ค. นายทีปอุทัย แสนกาศ หรือหนึ่ง เซียนพระ นักโบราณคดีอิสระ เจ้าของพิพิธภัณฑ์ศิลปะหริภุญไชย ต.ดอยหล่อ อ.ดอยหล่อ จ.เชียงใหม่ เผยกรณีนักสะสมกว้านซื้อเหรียญครูบาบุญชุ่ม ญาณสังวโร พระสงฆ์ผู้ทำพิธีเปิดทางถ้ำหลวง เพื่อค้นหาพร้อมช่วยเหลือโค้ชและเด็กติดถ้ำหลวง ในเขตวนอุทยานถ้ำหลวง-ขุนน้ำนางนอน 13 ราย จนประสบผลสำเร็จ สร้างความศรัทธาแก่ประชาชนทั่วไปว่า เป็นเรื่องจริง มีนักสะสมกว้านซื้อเหรียญดังกล่าวที่ตลาดพระเครื่องทิพย์เนตร ต.หายยา อ.เมืองเชียงใหม่ จำนวนมากจนเกลี้ยงแผง



มีคนหาซื้อหรือเช่าเหรียญครูบาชุ่มทุกรุ่น ไม่ว่าเก่าหรือใหม่ หลายรายแย่งกันซื้อขอเช่าเหรียญในราคาที่สูง ทำให้ราคาเพิ่มสูงกว่าเดิม 3-5 เท่า เช่น เหรียญครูบาบุญชุ่ม ปี 2539 จากราคา 1,000-1,500 บาท เป็น 5,000 บาทต่อเหรียญ ส่วนเหรียญครูบาบุญชุ่ม ที่ขยับราคาแพงที่สุด คือรุ่นปี 2518 จากราคา 40,000-50,000 บาท พุ่งสูงขึ้นเป็น 150,000 บาทแล้ว

“หากผ่านพ้นไป 2-3 สัปดาห์ เชื่อว่าราคาเหรียญหรือเครื่องรางของขลังครูบาบุญชุ่มคงนิ่ง ไม่ขยับราคาไปมากกว่านี้แล้ว” นายทีปอุทัย กล่าว

THAILAND AMULET CENTER |CHIANGMAI OFFICE
211/45 the City Villa, Soi Ladprao 126
Ladprao Rd, Kwang Prapla,Wang Thong Lang district
Bangkok 10310 Mobile :66-093-3361995     e-mail:amuletcenter@hotmail.com
พระเครื่องเมืองสยาม| โดย พร บางระจัน:
236/2 หมู่ 5 ,ถนน เชียงใหม่ ลำพูน ,ตำบลยางเนิ้ง,อำเภิสารภี จังหวัดเชียงใหม่ 50140
Tel: 66-053-963029,66-093-3361995  Fax : 66-53-963029
Mobile : 66-093-3361995   e-mail:amuletcenter@hotmail.com
Copyright © 2006 Thailand Amulet Center. Website Terms of Use   |   Privacy Statement Find us on Youtube Facebook