Price:100,000.00 Baht
喬祖父勳章,榮邦寺,13 年,銅,金萊
父親 Than Kheow 勳章,洛坤府榮邦寺,第一版,1970
年(銅和金肩),原裝精美。
歷史簡介 :
丹喬神父是洛坤府的著名僧人,1881年出生,在空卡瓦迪寺出家。
與非教務長在同一所學校受戒和學習 並開光了第一版 Phra Khru Non
這是一枚德高望重的錢幣 和那空是貪瑪叻市的另一枚著名硬幣
丹喬神父於1976年辭世,享年95歲,享年74歲。本廟為丹喬神父舉行火葬儀式。
但事實證明它更重了。 因為大火根本沒有燒到格林父親的屍體。
而每天,你的遺體還被裝在一個琉璃廠裡供八方信他的弟子頂禮膜拜。
誰的身體不腐爛,不腐爛 是泰國的佛像之一
第一代勳章,洛坤府榮邦寺Than Khiao神父 由 Phra Ajarn
Kham 創建 的 Wat Hong Kaew
請求丹喬神父的許可,製作了5000枚銅錢和金幣,呈獻給丹喬神父,讓他分發給一些弟子。
如今,這些錢幣非常稀有,價格也很高。 這枚硬幣肯定有未來。
佛陀:在無敵的一邊 保護免受各種武器 在背面,學習在外面寫上 Maha Ud
護身符“Udthang Attho”。 並在護身符中
這就像有一個玻璃盔甲一樣可以抵禦危
北大年府 Khok Pho 縣 Thung Phala 街道
Arunwasikaram 寺(Huay Ngo 寺)喬神父
丹喬神父的身世,1929年出生於也拉府Mueang區Na Tham街道,父名Mr.
Thong Petch Phakdi,母名Mrs. Kim Petch
Phakdi,出生於也拉府的一個農民家庭。 3 1949 年 6 月 6
日,北大年府湄蘭縣 Wat Nang O,即現在的 Wat Bupnimit,共有
7 人,直到他們 20 歲,他們根據傳統在 Wat Nang O 出家,與
Phra Kru Manoon. Na Pradu 寺的 Phra
Athikarn Daeng Thammachoto 是 Phra
Kamwajacharn Phra Athikarn Thong
Chanthachoto Wat Phamornkatiwan 是 Phra
Anusawanachan。
出家為黃袍時,丹丘神父住在南澳寺的大齋期。
他在其中度過了與僧侶活動無關的空閒時間 學習在各個重要章節中祈禱。
包括以南方風格吟唱巨大的帕納 今天不常見的
和往常一樣,直到第二個雨季,丹喬神父搬到也拉府拉曼縣的Sunthorn
Buncharam 寺,在第三個雨季,丹喬神父又搬回Wat Nang O。
跟隨擅長反省的外行“塔利亞姆”學習各種魔法科目。
此外,在那個地區學習魔法的人還有無數其他科目。
在佛法方面,陳喬神父修行嚴謹。 學習巴利文經典、語法和佛法
包括誦經。因此,丹覺神父從第5個雨季開始就能夠念誦Patimokkha,並被任命為Wat
Nang O的代理住持。 直到後來成為方丈
他與 Phrakru Wisaisophon 或 Phra Ajarn Tim
長海寺方丈 與親密 好客 總是來看對方 兩座寺廟之間的距離並不遠。 通過參加儀式
佛法對話,總是參加各種儀式,尤其是當 Phra Ajarn Tim, Wat
Chang Hai 於 1954 年製作了第一批 Luang Pu Thuat
佛像,分發給參與建造 Wat Chang Hai Ubosot 的人們。
通過將肉與萬混合 並參加盛佛大典
เหรียญหลวงปู่เขียว
วัดหรงบล ปี 13 ทองแดงกะหลั่ยทอง
เหรียญพ่อท่านเขียว วัดหรงบล จ.นครศรีธรรมราช
รุ่นแรก ปี พ.ศ. 2513 (เนื้อทองแดงกะไหล่ทอง)
สภาพสวยเดิม ครับ
ประวัติย่อ :
พ่อท่านเขียว เกจิชื่อดัง
แห่งจังหวัดนครศรีธรรมราช เกิดเมื่อปี
พ.ศ.2424 อุปสมบทที่วัดคงคาวดี
และได้บวชเรียนร่ำเรียนวิชาสำนักเดียวกันกับพระครูนนท์
และได้ร่วมปลุกเสกเหรียญรุ่นแรกของพระครูนนท์
ซึ่งเป็นเหรียญที่มีพุทธคุณสูง
และมีชื่อเสียงอีกเหรียญหนึ่งแห่งเมืองนครศรีธรรมราช
พ่อท่านเขียวมรณภาพเมื่อปี พ.ศ. 2519
สิริรวมอายุได้ 95 ปี พรรษาที่ 74
ทางวัดได้ทำพิธีเผาสรีระพ่อท่านเขียว
แต่ปรากฏว่าเป็นที่น่าอัศจรรย์ยิ่งหนัก
เพราะว่าไฟไม่ได้ไหม้สรีระของพ่อท่านเขียวแม้แต่น้อย
และทุกวันนีสรีระของท่านก็ยังได้บรรจุไว้ในโรงแก้วให้ยานุศิษย์จากทุกสารทิศต่าง
ๆ ที่นับถือศรัทธาท่านได้ไปกราบไหว้
ซึ่งสรีระของท่านไม่เน่าไม่เปื่อย
เป็นพระอรหันต์รูปหนึ่งของเมืองไทย
สำหรับเหรียญรุ่นแรกพ่อท่านเขียว วัดหรงบล
จ.นครศรีธรรมราช
จัดสร้างโดยท่านพระอาจารย์ขำ
แห่งวัดหงส์แก้ว
ขออนุญาตพ่อท่านเขียวจัดสร้าง จำนวน 5,000
เหรียญ
ซึ่งมีเนื้อทองแดงกะไหล่ทองและนำถวายพ่อท่านเขียวไว้สำหรับแจกแก่ศิษยานุศิษย์จำนวนหนึ่ง
ปัจจุบันเป็นเหรียญค่อนข้างหายากและมีราคาสูง
เหรียญรุ่นนี้มีอนาคตอย่างแน่นอนครับ
พุทธคุณ : ทางด้านอยู่ยงคงกระพัน
ป้องกันศาสตราอาวุธร้ายนานาประการ
และด้านหลังเรียนลงอักขระยันต์มหาอุด "อุดธัง
อัดโธ" ล้อมรอบด้านนอก และได้ในผืนยันต์
ซึ่งเปรียบเสมือนมีเกราะแก้วคุ้มกำบังภยันตรายได้เป็นอย่างดี
หลวงพ่อเขียว
วัดอรัญวาสิการาม(วัดห้วยเงาะ) ต.ทุ่งพลา
อ.โคกโพธิ์ จ.ปัตตานี
สำหรับประวัติของ พ่อท่านเขียว เกิดเมื่อ
พ.ศ. 2472 ต.หน้าถ้ำ อ.เมือง จ.ยะลา
บิดาชื่อนายทอง เพ็ชรภักดี มารดาชื่อ
นางกิ๊ม เพ็ชรภักดี
ถือกำเนิดในครอบครัวชาวนาใน จ.ยะลา
เป็นบุตรคนที่ 3 จากจำนวนทั้งหมด 7
คนกระทั่งอายุได้ 20 ปี
จึงอุปสมบทตามประเพณีนิยม ณ วัดนางโอ
ปัจจุบัน คือ วัดบุพนิมิตร อ.แม่ลาน จ.ปัตตานี
เมื่อวันที่ 6 มิ.ย. 2492 ณ พัทธสีมา
วัดนางโอ โดยมี พระครูมนูญสมณการ
วัดพลานุภาพ เป็นพระอุปัชฌาย์
พระอธิการแดง ธมฺมโชโต วัดนาประดู่
เป็นพระกรรมวาจาจารย์ พระอธิการทอง
จนฺทโชโต วัดภมรคติวัน
เป็นพระอนุสาวนาจารย์
เมื่ออุปสมบทครองผ้าเหลือง พ่อท่านเขียว
ได้จำพรรษาอยู่วัดนางโอ
โดยท่านได้ใช้เวลาที่ว่างจากกิจของสงฆ์
เล่าเรียนการสวดมนต์ในบทสำคัญต่างๆ
รวมถึงการสวดภาณยักษ์ในแบบฉบับของภาคใต้
ซึ่งปัจจุบันไม่ค่อยได้พบกันบ่อยนัก
เหมือนก่อนแล้ว กระทั่งพรรษา 2
พ่อท่านเขียว
ได้ย้ายไปจำพรรษาที่วัดสุนทรบัญชาราม อ.รามัญ
จ.ยะลา พรรษาที่ 3 พ่อท่านเขียว
ได้ย้ายกลับมาจำพรรษาที่วัดนางโออีกครั้ง
ได้ศึกษาวิชาอาคมต่างๆ กับ “ตาเลี่ยม”
ฆราวาสที่เชี่ยวชาญด้านวิปัสสนา
อีกทั้งสรรพวิชาจากผู้เรืองพระเวทย์วิทยาคม
ในเขตนั้นอีก จำนวนนับไม่ถ้วน
ในทางธรรม พ่อท่านเขียว ปฏิบัติเคร่งครัด
ศึกษาด้านปริยัติธรรมบาลีไวยากรณ์และนักธรรม
รวมถึงการสวดมนต์ สาธยายธรรม
ด้วยเหตุนี้เอง พ่อท่านเขียว
จึงสามารถสวดปาฏิโมกข์ได้ตั้งแต่ในพรรษาที่
5
ท่านได้รับตำแหน่งรักษาการเจ้าอาวาสวัดนางโอ
จนกระทั่งได้เป็นเจ้าอาวาสในลำดับต่อมา
ท่านได้เป็นสหธรรมมิกกับ พระครูวิสัยโสภณ
หรือ พระอาจารย์ทิม เจ้าอาวาสวัดช้างให้
ด้วยความสนิทสนม ชอบพออัธยาศัย
ไปมาหาสู่กันเสมอ
ระยะทางระหว่างวัดทั้งสองไม่ไกลกันนัก
โดยได้ร่วมสังฆกรรม
สนทนาธรรมร่วมพิธีกรรมต่างๆ กันเสมอ
โดยเฉพาะเมื่อคราวที่ พระอาจารย์ทิม
วัดช้างให้ สร้างพระ หลวงปู่ทวด เนื้อว่าน
รุ่นแรก เมื่อปี 2497
เพื่อแจกแก่ผู้ที่ร่วมสร้างอุโบสถ
วัดช้างให้ นั้น พ่อท่านเขียว
เป็นผู้หนึ่งที่ได้ร่วมงาน
โดยคลุกเนื้อผสมว่าน
และร่วมอยู่ในพิธีกรรมเจริญพุทธมนต์.