TRAVEL TOOLS

 

id7500003000070


 


 

大頭幣,Luang Pu Thuat,價值超過100萬,2500 B.E. 大頭幣,Luang Pu Thuat,價值超過100萬,2500 B.E.

 

Luang Por Phan Sukkamo,由巴蜀府桂武里區 Hat Kham 分區 Wat Chaloem Rat(Pong Kasang)BE 2538

 

Name of the image of Buddha: RIAN Luang Por Phan T. Hat Kham Subdistrict, Kui Buri District, Prachuap Khiri Khan Province
Supporter of casting: Luang Phan Sukamo
Location of Casting or Finding: Wat Pong Ka Sang
Year of Casting: (B.E. 2538)
Praise of the image of Buddha: merciful Trading prosperity

Product: 000797

Price:200,000.00 Baht


 

 Luang Por Phan Sukkamo,由巴蜀府桂武里區 Hat Kham 分區 Wat Chaloem Rat(Pong Kasang)前住持。 他是一位僧侶,如果你研究他的歷史, 你會同意這是一個非常好的和尚。 我們國家的另一幅圖景。 就連Ban Rai Temple的Luang Phor Koon也對他讚不絕口。 這件事發生在1992年左右。當時,Luang Pho Phan 還活著 Pong Kasang村民包租了一輛大巴士。 前往萬萊寺 (Ban Rai Temple) 朝拜 Luang Por Koon。 Luang Phor Koon看到那些前來朝拜他的人脖子上掛著硬幣。 於是他問龍婆什麼 收到的答覆是 這是一枚屬於Wat Pong Kasang的Luang Pho Phan的硬幣。Luang Pho Koon隨後對那些去朝拜的人說: “你們不必大老遠跑到這裡來找我,博士。這裡很遠。你的父親甚至比我更好。” 甚至連 Wat Nong Chok 的 Yid 神父也不得不屈服於他。 甚至讓他自己的弟子搶走你的好東西。” Pol.Lt.Wirat Acharthong,曼谷 Bang Yi Khan 警察局交通部門指揮官,Luang Pho Phan 佛牌收藏家。 解釋一下 龍婆潘創造的聖物很少。 因為他是個修士,不允許任何人創造。 連摩訶菩提書Yai Tha Mai也會來請求製作他的聖物。 他仍然不允許建造它。 您的聖物如下: 1. 第一版的粉佛牌是在1951年製作的,根據Luang Phan告訴經常為他按摩的寺廟童子Attaphum Soithong先生的歷史,這第一版的粉佛牌對他來說已經足夠了.跟隨Luang Phor Thongsuk學習 那時,Wat Tonot Luang 他帶著佛粉給老師開光。 但Luang Pho Thongsuk說,等所有課程都完成後,我們來一起開光。 於是他與Luang Pho Thongsuk一起開光。 至於第二代,也是Phra Somdej粉。 建於1968年,混合了第一版佛粉。 仔細觀察,這兩個版本的材料非常相似。這個版本是與年長弟子Luang Pho Ploen一起在Wat Nong Mai Lueng開光的。後來,他在1980年移居Wat Pong Kasang成為住持。 並將這個Somdet模型帶到了Wat Pong Kasang,奎武里縣的人們因此將這個模型列為Wat Pong Kasang的第一個模型。 至於你的硬幣的第一版 1976年建成,由於區塊先破裂,數量沒有超過10,000枚。 警長維拉特也表示,根據這枚硬幣的歷史 他還告訴 Attaphum Soithong 先生,因為 Attaphum 先生問他: 據傳他的父親 龍婆錢幣是假的,是補品嗎? 我看到了關於他的傳聞。 所以他告訴我 在這枚硬幣被鑄造的那一天,他和Phetchaburi省Wat Yang的Luang Pho In在一起。Luang Pho In創造了他的硬幣。 創作者來到寺廟設計並確定Luang Por In的數量。 所以我問龍婆潘。 他們不創造硬幣? Luang Phor Phan回答說:「我不會建造它。我們的寺廟很窮。但如果我得到每枚硬幣1泰銖的價格,我就會建造它。」創建者同意了。 於是它就被創建了。 建造完成後,硬幣被帶到 Wat Yang。 Luang Phor Phan逐漸將硬幣帶回Wat Pong Kasang。 至於第二版硬幣,總共鑄造了 5,000 枚,也是採用相同的材​​質。 至於模型3,由3種材質製成,由82枚金幣、82枚銀幣、6000枚黑銅幣組成,模型4為鑄幣,84枚金幣、500納瓦銀和5000枚銅幣,共5000枚。由Luang Pho Phan Marong 製作,由Phran Nok 親自出演 攜帶打固 大量刻有銘文的銅板、Phat Duang 錢幣和 satang 孔。 「以前,當你自己去找的時候, 波賈納林老師 音樂奇拉南 司機和Luang Phor Phan一起去了。 他親自澆鑄金屬、打固,並在銅板上刻字,這是他第一次獨自吉祥。 龍婆潘是一位總是不間斷地為您的聖物開光的僧侶。 如果您沒有邀請函或不住在寺廟 晚上,你總是會進入神聖的房間,」警長維拉特總結道。 龍婆潘於1996年3月19日圓寂,享年84歲,其遺體並未腐爛。 存放在木棺材中 讓學生看見美德 無盡的奇蹟 「過去,Pong Kasang 寺只有一尊 Luang Pho Phan 雕像。 共產主義確實很猖獗。 所以,沒有和尚敢留下來。 寺廟附近的村民說 如果你聽到寺廟傳來槍聲,你立刻就會知道Luang Phan又被槍殺了,因為邊境巡邏警察必須定期輪調人員。 所以我不知道有一個行走的和尚。」這是Luang Phan神聖故事的一部分。 帕克魯·索菲特·瓦吉拉瑟姆 Wat Nong Mai Lueng 的現任院長告訴我們, 你是這裡的一個人。 當他還是個孩子的時候,他經常在這座寺廟周圍奔跑和玩耍。Luang Pho Ploen 和 Luang Pho Phan 我們一起在Wat Nong Mai Lueng。 寺廟毗鄰,有樓梯通往寺廟。 這是阻止修士們黏在一起的東西。 他們一起建造了 Wat Nong Mai Lueang 作者:龍婆普倫 他是僧侶宿舍的創建者。 至於Luang Phor Phan,他建造了一座講經堂。 龍婆布倫 和龍婆潘 他們並不是大家所理解的兄妹。 Luang Por Ploen比Luang Por Phan大11歲。Luang Por Ploen告訴他 當Luang Phor Ploen還是一名僧侶時 Luang Phor Phan仍然是一名寺廟男孩。 龍婆潘將致電 Luang Pho Ploen 一直被稱為“Luang Phi”,直到 1970 年去世。碧武里府 Ban Khae 的人們到 Pong Kasang 村謀生,取名為 Yom Ploy Noi Samran。Yom Ploy 很喜歡 Luang Pho Phan。 因為他是果斷果斷的和尚,所以他去請Luang Pho Ploen擔任Wat Pong Kasang的住持。 在Luang Por Phan成為Pong Kasang Temple住持的第一年,Luang Por Ploen去供養了Kathine,金額為3000泰銖,Luang Por Phan仍然定期來往和Luang Por Ploen一起工作。 Nong Mai Lueang 的人們對 Luang Pho Phan 充滿信心。 Wat Pong Kasang什麼時候有活動? 會包租幾輛大車。 去幫助Luang Phor Phan的工作。 一度 Luang Phan 告訴 Wat Nong Mai He 的住持

เหรียญปั๊มรุ่นแรก หลวงพ่อพาน วัดโป่งกะสัง ปี 2538 (เสื้อเกราะ เมืองกุยบุรี )

หลวงพ่อพาน สุขกาโม อดีตเจ้าอาวาสวัดเฉลิมราษฎร์ (โป่งกะสัง) ต.หาดขาม อ.กุยบุรี จ.ประจวบคีรีขันธ์

ท่านเป็นพระที่ถ้าคุณได้ศึกษาประวัติของท่านแล้ว คุณจะยอมรับว่านี้คือพระที่เก่งจริงๆ ของเมืองไทยเราอีกรูปหนึ่ง ก็ขนาดหลวงพ่อคูณ วัดบ้านไร่ ก็ยังเคยกล่าวยกย่องท่านไว้ เรื่องนี้เกิดขึ้นประมาณ พ.ศ.๒๕๓๕ ขณะนั้นหลวงพ่อพาน ยังมีชีวิตอยู่ ชาวบ้านโป่งกะสังได้เหมารถบัสใหญ่ เพื่อไปนมัสการหลวงพ่อคูณที่วัดบ้านไร่ หลวงพ่อคูณได้เห็นเหรียญที่ห้อยคอของผู้ที่ไปนมัสการท่าน จึงได้ถามว่าหลวงพ่ออะไร ได้รับคำตอบว่า เป็นเหรียญของหลวงพ่อพาน วัดโป่งกะสัง หลวงพ่อคูณจึงกล่าวกับผู้ไปนมัสการว่า "พวกเองไม่ต้องมาหาข้าถึงที่นี่ด๊อก มันไกล พ่อพานมึงเก่งยิ่งกว่ากูอีก หรือแม้กระทั่งหลวงพ่อยิด วัดหนองจอก ยังต้องยอมท่าน และยังให้ลูกศิษย์ของตนเองไปเอาของดีจากท่าน" ด.ต.วิรัตน์ อาจสัญจร ผบ.หมู่งานจราจร สน.บางยี่ขัน กทม. ผู้สะสมพระหลวงพ่อพาน อธิบายให้ฟังว่า หลวงพ่อพานสร้างวัตถุมงคลไว้ไม่มาก เพราะท่านเป็นพระที่ไม่ยอมให้ใครสร้าง ก็ขนาดหนังสือมหาโพธิ์ ของใหญ่ ท่าไม้ จะมาขอสร้างวัตถุมงคลของท่าน ท่านยังไม่ยอมให้สร้างเลย วัตถุมงคลของท่านมีดังนี้ ๑.พระเนื้อผงรุ่นแรก สร้างเมื่อ พ.ศ.๒๔๙๔ ตามประวัติที่หลวงพ่อพานท่านได้เล่าให้ นายอรรตภูมิ สร้อยทอง ซึ่งป็นเด็กวัดและบีบนวดท่านเป็นประจำ ฟังว่า พระผงรุ่น ๑ นี้ พอท่านได้เรียนวิชากับหลวงพ่อทองศุข วัดโตนดหลวงแล้ว ท่านได้นำผงพุทธคุณไปให้อาจารย์ปลุกเสก แต่หลวงพ่อทองศุขกลับบอกว่า ไหนๆ ก็เรียนวิชาจบหมดแล้วก็มาปลุกเสกด้วยกันสิ ท่านจึงได้ปลุกเสกร่วมกับหลวงพ่อทองศุข ส่วนรุ่นที่ ๒ เป็นพระสมเด็จเนื้อผงอีกเช่นกัน จัดสร้างเมื่อ พ.ศ.๒๕๑๑ โดยได้นำผงพุทธคุณรุ่นแรกมาผสมด้วย สังเกตให้ดีมวลสารคล้ายกันมาก 2 รุ่นนี้ โดยรุ่นนี้ได้ปลุกเสกร่วมกับศิษย์ผู้พี่ หลวงพ่อเพลิน ที่วัดหนองไม้เหลือง ต่อมา พ.ศ.๒๕๒๓ ท่านได้ย้ายมาเป็นเจ้าอาวาสที่วัดโป่งกะสัง และได้นำสมเด็จรุ่นนี้มาแจกที่วัดโป่งกะสัง ชาว อ.กุยบุรี จึงจัดรุ่นนี้เป็นรุ่นแรกของวัดโป่งกะสัง ส่วนเหรียญรุ่นแรกของท่าน จัดสร้างเมื่อ พ.ศ.๒๕๑๙ จำนวนไม่เกิน ๑ หมื่นเหรียญ เพราะบล็อกแตกเสียก่อน ด.ต.วิรัตน์ ยังบอกด้วยว่า ตามประวัติ เหรียญรุ่นนี้ ท่านก็ได้เล่าให้ นายอรรตภูมิ สร้อยทอง ฟังเช่นกัน เพราะนายอรรตภูมิถามท่านว่า หลวงพ่อเขาลือกันว่า เหรียญหลวงพ่อมีปลอมและเสริมด้วยหรือ เห็นเขาลือกัน ท่านจึงเล่าให้ฟังว่า วันที่สร้างเหรียญรุ่นนี้ตัวท่านอยู่กับหลวงพ่ออินทร์ วัดยาง จ.เพชรบุรี หลวงพ่ออินทร์ได้สร้างเหรียญของท่าน ทางผู้สร้างได้มาที่วัด ออกแบบ กำหนดจำนวน หลวงพ่ออินทร์ จึงถามหลวงพ่อพาน ว่าไม่สร้างเหรียญหรือ หลวงพ่อพานตอบ ไม่สร้างหรอก วัดเราจน แต่ถ้าได้ราคา ๑ บาทต่อเหรียญ ก็จะทำ ผู้สร้างตอบตกลง จึงได้จัดสร้าง เมื่อสร้างเสร็จก็นำเหรียญมาไว้ที่วัดยาง หลวงพ่อพานก็ทยอยนำเหรียญนั้นกลับวัดโป่งกะสัง ส่วนเหรียญรุ่น ๒ สร้างจำนวน ๕,๐๐๐ เหรียญ มีเนื้อเดียวเช่นกัน ส่วนรุ่น ๓ สร้าง ๓ เนื้อ ประกอบด้วย เนื้อทองคำ ๘๒ เหรียญ เนื้อเงิน ๘๒ เหรียญ เนื้อทองแดงรมดำ ๖,๐๐๐ เหรียญ รุ่น ๔ เป็นเหรียญหล่อ ทองคำ ๘๔ เหรียญ เงิน ๕๐๐ นวะและทองเหลืองรวม ๕,๐๐๐ เหรียญ เหรียญหล่อนี้หลวงพ่อพานมาโรงหล่อที่พรานนกด้วยตนเอง โดยได้นำตะกรุด แผ่นทองแดงที่จารแล้ว จำนวนมาก และเงินพตด้วง สตางค์รู "สมัยก่อน ที่ท่านไปหามาด้วยตัวท่านเองกับ คุณครูพจนรินทร์ มุสิกเจียรนันท์ ผู้ขับรถไปกับหลวงพ่อพาน ท่านได้เทโลหะ ตะกรุด แผ่นทองแดงจาร เป็นปฐมฤกษ์ ด้วยตัวท่านเอง หลวงพ่อพานเป็นพระที่ปลุกเสกวัตถุมงคลของท่านตลอดไม่มีวาระ ถ้าท่านไม่มีกิจนิมนต์หรือไม่ได้จำวัดที่วัด พลบค่ำท่านจะเข้าห้องพระปลุกเสกตลอด" ด.ต.วิรัตน์กล่าวทิ้งท้าย หลวงพ่อพานมรณภาพเมื่อ วันที่ ๑๙ มีนาคม พ.ศ.๒๕๓๙ รวมอายุ ๘๔ ปี สรีระของท่านไม่เน่าเปื่อย ถูกเก็บไว้ในโลงไม้ เพื่อลูกศิษย์ได้ชมบารมี ปาฏิหาริย์ที่ไม่รู้จบ "ในสมัยก่อน วัดโป่งกะสัง มีหลวงพ่อพานอยู่รูปเดียว คอมมิวนิสต์ชุกชุมมากจริงๆ จึงไม่มีพระรูปใดกล้าอยู่ ชาวบ้านที่อยู่ใกล้วัดบอกว่า ถ้าได้ยินเสียงปืนมาจากทางวัดรู้ได้ทันทีว่าหลวงพ่อพานโดนยิงอีกแล้ว เพราะว่า ตชด.จะต้องสับเปลี่ยนกำลังพลเป็นประจำ จึงไม่รู้ว่ามีพระเดินจงกลมอยู่" นี้เป็นส่วนหนึ่งเรื่องราวความศักดิ์สิทธิ์ของหลวงพ่อพาน พระครูโสภิตวชิรธรรม เจ้าอาวาสวัดหนองไม้เหลือง รูปปัจจุบัน เล่าให้ฟังว่า ท่านเป็นคนที่นี่ สมัยท่านเป็นเด็กวิ่งเล่นอยู่แถววัดนี้เป็นประจำ หลวงพ่อเพลิน และหลวงพ่อพาน อยู่ที่วัดหนองไม้เหลืองนี้ด้วยกัน กุฎิติดกันโดยมีบันไดทางขึ้นวัด เป็นสิ่งที่กั้นกุฎิไม่ให้ติดกัน และได้ร่วมกันสร้างวัดหนองไม้เหลืองมาด้วยกัน โดยหลวงพ่อเพลิน เป็นผู้สร้างกุฏิสงฆ์ ส่วนหลวงพ่อพานนั้นสร้างศาลาการเปรียญ ทั้งหลวงพ่อเพลิน และหลวงพ่อพานนั้น ไม่ใช่พี่น้องกันเหมือนอย่างที่ทุกคนเข้าใจกัน หลวงพ่อเพลินแก่กว่าหลวงพ่อพาน ๑๑ พรรษา โดยหลวงพ่อเพลินเล่าให้ฟังว่า สมัยที่หลวงพ่อเพลินยังเป็นพระลูกวัด หลวงพ่อพานยังเป็นเด็กวัด หลวงพ่อพานจะเรียก หลวงพ่อเพลินว่า “หลวงพี่” จนมรณภาพ ในปี พ.ศ.๒๕๑๓ คนบ้านแค จ.เพชรบุรี ไปทำมาหากินที่หมู่บ้านโป่งกะสัง ชื่อว่า โยมพลอย น้อยสำราญ โดยโยมพลอยได้ชื่นชอบหลวงพ่อพาน เพราะท่านเป็นพระเด็ดเดี่ยว เด็ดขาด จึงไปขอกับหลวงพ่อเพลินให้ไปเป็นเจ้าอาวาสที่วัดโป่งกะสัง โดยในปีแรกที่หลวงพ่อพานมาเป็นเจ้าอาวาสที่วัดโป่งกะสังหลวงพ่อเพลินได้ไปทอดกฐินให้ ได้เงินจำนวน ๓,๐๐๐ บาท โดยหลวงพ่อพานก็ยังไปๆ มาๆ และมาร่วมงานกับหลวงพ่อเพลินเป็นประจำ คนที่หนองไม้เหลืองศรัทธาหลวงพ่อพานมาก เวลาที่วัดโป่งกะสังมีงานครั้งใดๆ ก็จะเหมารถใหญ่หลายคัน ไปช่วยงานหลวงพ่อพาน มีอยู่ครั้งหนึ่ง ซึ่งหลวงพ่อพานได้เล่าให้เจ้าอาวาสวัดหนองไม้เห

 

 
THAILAND AMULET CENTER |CHIANGMAI OFFICE
211/45 the City Villa, Soi Ladprao 126
Ladprao Rd, Kwang Prapla,Wang Thong Lang district
Bangkok 10310 Mobile :66-093-3361995     e-mail:amuletcenter@hotmail.com
พระเครื่องเมืองสยาม| โดย พร บางระจัน:
236/2 หมู่ 5 ,ถนน เชียงใหม่ ลำพูน ,ตำบลยางเนิ้ง,อำเภิสารภี จังหวัดเชียงใหม่ 50140
Tel: 66-053-963029,66-093-3361995  Fax : 66-53-963029
Mobile : 66-093-3361995   e-mail:amuletcenter@hotmail.com
Copyright © 2006 Thailand Amulet Center. Website Terms of Use   |   Privacy Statement Find us on Youtube Facebook